ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาซีพลัสพลัส"

จาก วิกิตำรา
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzero (คุย | ส่วนร่วม)
Nullzero (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 6: บรรทัดที่ 6:


เนื่องจากมีผู้ผลิตคอมไพเลอร์เพื่อใช้แปลภาษาซีหลายบริษัท ตัวอย่างต่าง ๆ ที่นำเสนอในหนังสือเล่มนี้เป็นตัวอย่างที่นำเสนอโดยใช้คอมไพเลอร์ของ Turbo C เวอร์ชั่น 3.0 ของบริษัทบอร์แ์ลนด์ โดยพยายามเขียนในรูปแบบทเี่ป็นมาตรฐานหากผู้อ่านนำไปใช้กับคอมไพเลอร์ของบริษัทอื่นจะได้มีการปรับแก้ไม่มากนัก เพื่อให้ผู้อ่า่นไดเ้ห็นภาพการพัฒนาโปรแกรมเชิงโครงสร้างอย่างชัดเจน
เนื่องจากมีผู้ผลิตคอมไพเลอร์เพื่อใช้แปลภาษาซีหลายบริษัท ตัวอย่างต่าง ๆ ที่นำเสนอในหนังสือเล่มนี้เป็นตัวอย่างที่นำเสนอโดยใช้คอมไพเลอร์ของ Turbo C เวอร์ชั่น 3.0 ของบริษัทบอร์แ์ลนด์ โดยพยายามเขียนในรูปแบบทเี่ป็นมาตรฐานหากผู้อ่านนำไปใช้กับคอมไพเลอร์ของบริษัทอื่นจะได้มีการปรับแก้ไม่มากนัก เพื่อให้ผู้อ่า่นไดเ้ห็นภาพการพัฒนาโปรแกรมเชิงโครงสร้างอย่างชัดเจน

* [[/pass by reference]]


[[หมวดหมู่:การเขียนโปรแกรม]]
[[หมวดหมู่:การเขียนโปรแกรม]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 22:11, 15 มกราคม 2556

การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C++

แนะนําภาษาซี (Introduction to C Programming Languages)

Introduction to C Programming Language)ภาษาโปรแกรม (Programming Languages) ที่มีการคิดค้นขึ้นมาใช้กับคอมพิวเตอร์นั้นมีหลายพันภาษา แต่ภาษาที่เป็นที่รู้จักและเป็นที่นิยมใช้ทั่วไปนั้นอาจจะมีเพียงหลายสิบภาษา เช่น โคบอล (COBOL)ปาสคาล (Pascal) เดลไฟล์ (Delphi) วิชวลเบสิก (Visual Basic) ซี (C) จาวา (Java) เป็นต้น ซึ่งแต่ละภาษาสร้า้งขึ้น ด้วยวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันและมีจุดเด่นของภาษาที่ต่างกัน ภาษาซี (C Programming Language)เป็นภาษาเชิงโครงสร้างที่มีการออกแบบโปรแกรมในลักษณะโมดูลที่มีจุดเด่นในเรื่องของประสิทธิภาพการทํางานที่เร็ว มีความยืดหยุ่นในการเขียนโปรแกรมสูง

เนื่องจากมีผู้ผลิตคอมไพเลอร์เพื่อใช้แปลภาษาซีหลายบริษัท ตัวอย่างต่าง ๆ ที่นำเสนอในหนังสือเล่มนี้เป็นตัวอย่างที่นำเสนอโดยใช้คอมไพเลอร์ของ Turbo C เวอร์ชั่น 3.0 ของบริษัทบอร์แ์ลนด์ โดยพยายามเขียนในรูปแบบทเี่ป็นมาตรฐานหากผู้อ่านนำไปใช้กับคอมไพเลอร์ของบริษัทอื่นจะได้มีการปรับแก้ไม่มากนัก เพื่อให้ผู้อ่า่นไดเ้ห็นภาพการพัฒนาโปรแกรมเชิงโครงสร้างอย่างชัดเจน