ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิติปรัชญา"

จาก วิกิตำรา
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Parintar (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Parintar (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 17: บรรทัดที่ 17:
-  เพลโต  สรุปว่า  กฎหมายธรรมชาติเป็นความคิดหรือแบบอันไม่มีวันเปลี่ยนแปลงสำหรับใช้เป็นบรรทัดฐานต่อกฎหมายบ้านเมือง  และมีเพียงราชาปราชญ์ผู้สามารถเข้าถึง “แบบ”    
-  เพลโต  สรุปว่า  กฎหมายธรรมชาติเป็นความคิดหรือแบบอันไม่มีวันเปลี่ยนแปลงสำหรับใช้เป็นบรรทัดฐานต่อกฎหมายบ้านเมือง  และมีเพียงราชาปราชญ์ผู้สามารถเข้าถึง “แบบ”    


1.2      พวก  Homo  mensura เป็นพวกที่ไม่เชื่อว่ากฎหมายมีอยู่ในธรรมชาติ  แต่มนุษย์เป็นผู้สร้างกฎหมายขึ้นมา  
1.2      พวก  Homo  mensura เป็นพวกที่ไม่เชื่อว่ากฎหมายมีอยู่ในธรรมชาติ  แต่มนุษย์เป็นผู้สร้างกฎหมายขึ้นมา   

   1.3     สำนักสโตอิค  มีแนวความคิดพื้นฐานว่า ในจักรวาลประกอบด้วย “เหตุผล” ซึ่งเป็นเสมือนกฎเกณฑ์ธรรมชาติที่มีลักษณะแน่นอน  มนุษย์ซึ่งถูกกำหนดควบคุมโดย “เหตุผล” 
1.3     สำนักสโตอิค  มีแนวความคิดพื้นฐานว่า ในจักรวาลประกอบด้วย “เหตุผล” ซึ่งเป็นเสมือนกฎเกณฑ์ธรรมชาติที่มีลักษณะแน่นอน  มนุษย์ซึ่งถูกกำหนดควบคุมโดย “เหตุผล”     
   1.4   จักรวรรดิโรมัน  ได้นำหลักกฎหมายธรรมชาติไปปรับใช้ในการพัฒนาระบบกฎหมายของโรมันให้มีความเหมาะสมเป็น ธรรม  

   2.   ยุคมืด และช่วงแรกของยุคกลาง  
1.4   จักรวรรดิโรมัน  ได้นำหลักกฎหมายธรรมชาติไปปรับใช้ในการพัฒนาระบบกฎหมายของโรมันให้มีความเหมาะสมเป็น ธรรม    
ยุคมืด และช่วงแรกของยุคกลาง   ศาสนจักรโรมันคาทอลิกก็เข้าครอบงำและพัฒนาเปลี่ยนแปลงปรัชญากฎหมายธรรมชาติให้สอดคล้ องกับหลักคำสอนของคริสต์ศาสนา  (เน้นว่า กฎหมายที่ขัดต่อคำสอนของศาสนาไม่เป็นกฎหมาย)โดยนำแนวคิดเรื่องบาปโดยกำเนิด (Original Sin)  เข้ามาแทนที่ “เหตุผล”    

ช่วงที่สองของยุคกลาง   เซนต์ โทมัส อไควนัส ยืนยันว่ากฎหมายธรรมชาติสูงกว่ากฎหมายที่รัฐบัญญัติขึ้น (เจตจำนงของพระเจ้าคือที่มาของกฎหมาย)  และได้แบ่งกฎหมายออกเป็น  4  ประเภท คือ 
2.   ยุคมืด และช่วงแรกของยุคกลาง  ยุคมืด และช่วงแรกของยุคกลาง   ศาสนจักรโรมันคาทอลิกก็เข้าครอบงำและพัฒนาเปลี่ยนแปลงปรัชญากฎหมายธรรมชาติให้สอดคล้ องกับหลักคำสอนของคริสต์ศาสนา  (เน้นว่า กฎหมายที่ขัดต่อคำสอนของศาสนาไม่เป็นกฎหมาย)โดยนำแนวคิดเรื่องบาปโดยกำเนิด (Original Sin)  เข้ามาแทนที่ “เหตุผล”    ช่วงที่สองของยุคกลาง   เซนต์ โทมัส อไควนัส ยืนยันว่ากฎหมายธรรมชาติสูงกว่ากฎหมายที่รัฐบัญญัติขึ้น (เจตจำนงของพระเจ้าคือที่มาของกฎหมาย)  และได้แบ่งกฎหมายออกเป็น  4  ประเภท คือ 


1)   กฎหมายนิรันดร์         
1)   กฎหมายนิรันดร์         
บรรทัดที่ 30: บรรทัดที่ 31:
3.)   กฎหมายศักดิ์สิทธิ์        
3.)   กฎหมายศักดิ์สิทธิ์        


4.)   กฎหมายของมนุษย์ 
4.)   กฎหมายของมนุษย์  


3.   ยุคฟื้นฟู และยุคปฏิรูป  (เป็นยุคที่เกิดกฎหมายระหว่างประเทศ)
3.   ยุคฟื้นฟู และยุคปฏิรูป  (เป็นยุคที่เกิดกฎหมายระหว่างประเทศ)
เป็นยุคที่ปรัชญากฎหมายธรรมชาติแยกออกจากการครอบงำของศาสนาคริสต์  มาสู่การวิเคราะห์เชิงวิทยาศาสตร์  ฮูโก  โกรเชียส  ได้นำหลักการของกฎหมายธรรมชาติบางเรื่องไปเป็นรากฐานในการบัญญัติกฎหมายระหว่างประเทศ  จนได้รับยกย่องว่าเป็นบิดาของกฎหมายระหว่างประเทศ     
เป็นยุคที่ปรัชญากฎหมายธรรมชาติแยกออกจากการครอบงำของศาสนาคริสต์  มาสู่การวิเคราะห์เชิงวิทยาศาสตร์  ฮูโก  โกรเชียส  ได้นำหลักการของกฎหมายธรรมชาติบางเรื่องไปเป็นรากฐานในการบัญญัติกฎหมายระหว่างประเทศ  จนได้รับยกย่องว่าเป็นบิดาของกฎหมายระหว่างประเทศ          


4.   ยุคชาติรัฐนิยม   เป็นยุคที่กฎหมายธรรมชาติมีความเสื่อมลง เพราะ     
4.   ยุคชาติรัฐนิยม   เป็นยุคที่กฎหมายธรรมชาติมีความเสื่อมลง เพราะ     
บรรทัดที่ 39: บรรทัดที่ 40:
1)   กระแสสูงของลัทธิชาติรัฐนิยม  (Nationalism)    
1)   กระแสสูงของลัทธิชาติรัฐนิยม  (Nationalism)    


2)   ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์  และวิธีคิดเชิงประจักษ์วาทแบบแบบวิทยาศาสตร์ และภายใต้ความคิดทางแบบวิทยาศาสตร์นี้ก็ยังเป็นพื้นฐานให้เกิดลัทธิอรรถประโยชน์และทฤษฎีปฏิฐานนิยมทางกฎหมาย  
2)   ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์  และวิธีคิดเชิงประจักษ์วาทแบบแบบวิทยาศาสตร์ และภายใต้ความคิดทางแบบวิทยาศาสตร์นี้ก็ยังเป็นพื้นฐานให้เกิดลัทธิอรรถประโยชน์และทฤษฎีปฏิฐานนิยมทางกฎหมาย    


5.   ยุคปัจจุบัน (ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2) มีการฟื้นตัวของกฎหมายธรรมชาติ  อันเนื่องจากองค์การสหประชาชาติ (UN)  รณรงค์ให้เคารพในสิทธิมนุษยชน (Human Rights)   ในยุคนี้ปรัชญากฎหมายธรรมชาติมีบทบาทอยู่  2  ลักษณะ    
5.   ยุคปัจจุบัน (ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2) มีการฟื้นตัวของกฎหมายธรรมชาติ  อันเนื่องจากองค์การสหประชาชาติ (UN)  รณรงค์ให้เคารพในสิทธิมนุษยชน (Human Rights)   ในยุคนี้ปรัชญากฎหมายธรรมชาติมีบทบาทอยู่  2  ลักษณะ    
บรรทัดที่ 69: บรรทัดที่ 70:
จอห์น  ฟินนีส    อธิบายทฤษฎีกฎหมายธรรมชาติ ด้วยการหาคำตอบเกี่ยวกับลักษณะของชีวิตที่มีคุณค่า โดยเริ่มจากสมมติฐานหลัก 2  ประการ  คือ 
จอห์น  ฟินนีส    อธิบายทฤษฎีกฎหมายธรรมชาติ ด้วยการหาคำตอบเกี่ยวกับลักษณะของชีวิตที่มีคุณค่า โดยเริ่มจากสมมติฐานหลัก 2  ประการ  คือ 
   1)   รูปแบบพื้นฐานแห่งความมั่งคั่งรุ่งเรืองของมนุษย์
   1)   รูปแบบพื้นฐานแห่งความมั่งคั่งรุ่งเรืองของมนุษย์
    2)     สิ่งจำเป็นเชิงวิชาการพื้นฐานของความชอบด้วยเหตุผลเชิงปฏิบัติ
    2)     สิ่งจำเป็นเชิงวิชาการพื้นฐานของความชอบด้วยเหตุผลเชิงปฏิบัติ     

   จุดอ่อน 
จุดอ่อน   
-   ความเป็นนามธรรมอย่างสูง   

-   ไม่สามารถพิสูจน์ตรวจสอบความถูกต้องได้ด้วยวิธีการทาง
-   ความเป็นนามธรรมอย่างสูง      

-   ไม่สามารถพิสูจน์ตรวจสอบความถูกต้องได้ด้วยวิธีการทาง   

-   ไม่ถูกต้องตามหลักตรรกะ   
-   ไม่ถูกต้องตามหลักตรรกะ   


บรรทัดที่ 114: บรรทัดที่ 119:
ดวอร์กิ้น  วิจารณ์แนวคิดเรื่อง”ระบบแห่งกฎเกณฑ์”  โดยเห็นว่า  การถือว่ากฎหมายเป็นเพียงเรื่องระบบแห่งกฎเกณฑ์ตามความคิดของฮาร์ทนั้น  เป็นข้อสรุปที่ไม่สมบูรณ์และคับแคบเกินไป  เพราะจริง ๆ แล้ว  “กฎเกณฑ์”  ไม่ใช่เนื้อหาสาระเดียวในกฎหมาย  การมองกฎหมายว่าเป็นเรื่องของกฎเกณฑ์เท่านั้นไม่เป็นสิ่งที่เพียงพอ  กฎเกณฑ์เป็นเพียงส่วนหนึ่งของกฎหมายเท่านั้น  แท้จริงแล้วยังมีเนื้อหาสาระสำคัญอื่น ๆ ซึ่งประกอบอยู่ภายในกฎหมาย  ที่สำคัญคือเนื้อหาสาระที่เป็นเรื่องของ “หลักการ” ทางศีลธรรม  หรือความเป็นธรรม
ดวอร์กิ้น  วิจารณ์แนวคิดเรื่อง”ระบบแห่งกฎเกณฑ์”  โดยเห็นว่า  การถือว่ากฎหมายเป็นเพียงเรื่องระบบแห่งกฎเกณฑ์ตามความคิดของฮาร์ทนั้น  เป็นข้อสรุปที่ไม่สมบูรณ์และคับแคบเกินไป  เพราะจริง ๆ แล้ว  “กฎเกณฑ์”  ไม่ใช่เนื้อหาสาระเดียวในกฎหมาย  การมองกฎหมายว่าเป็นเรื่องของกฎเกณฑ์เท่านั้นไม่เป็นสิ่งที่เพียงพอ  กฎเกณฑ์เป็นเพียงส่วนหนึ่งของกฎหมายเท่านั้น  แท้จริงแล้วยังมีเนื้อหาสาระสำคัญอื่น ๆ ซึ่งประกอบอยู่ภายในกฎหมาย  ที่สำคัญคือเนื้อหาสาระที่เป็นเรื่องของ “หลักการ” ทางศีลธรรม  หรือความเป็นธรรม
ดวอร์กิ้นถือว่า “หลักการ” เป็นมาตรฐานภายในกฎหมายซึ่งต้องเคารพรักษา ซึ่ง  “หลักการ”  ต่างกับ  “กฎเกณฑ์”  ตรงที่กฎเกณฑ์มีลักษณะใช้ได้ทั่วไปมากกว่า  ขณะที่หลักการต้องเลือกปรับใช้ในบางคดี  
ดวอร์กิ้นถือว่า “หลักการ” เป็นมาตรฐานภายในกฎหมายซึ่งต้องเคารพรักษา ซึ่ง  “หลักการ”  ต่างกับ  “กฎเกณฑ์”  ตรงที่กฎเกณฑ์มีลักษณะใช้ได้ทั่วไปมากกว่า  ขณะที่หลักการต้องเลือกปรับใช้ในบางคดี  

   ในจุดนี้  ดวอร์กิ้น  ได้ยกตัวอย่างที่เขาต้องการชี้ให้เห็นความแตกต่าง ระหว่าง “หลักการ” และ “กฎเกณฑ์"   เช่น  คดี Henningsen V. Bloomfield Motors   ซึ่ง มีประเด็นสำคัญว่า บริษัทผู้ผลิตยางรถยนต์สามารถจำกัดความรับผิดของตนในความเสียหายที่เกิดขึ้น เนื่องจา กความบกพร่องในการผลิตได้เพียงใด
ในจุดนี้  ดวอร์กิ้น  ได้ยกตัวอย่างที่เขาต้องการชี้ให้เห็นความแตกต่าง ระหว่าง “หลักการ” และ “กฎเกณฑ์"   เช่น  คดี Henningsen V. Bloomfield Motors   ซึ่ง มีประเด็นสำคัญว่า บริษัทผู้ผลิตยางรถยนต์สามารถจำกัดความรับผิดของตนในความเสียหายที่เกิดขึ้น เนื่องจา กความบกพร่องในการผลิตได้เพียงใด
ในเมื่อได้ทำสัญญาโดยตกลงว่าความรับผิดของบริษัทผู้ผลิตจำกัดเพียงการซ่อมแซมส่วนที่ บกพร่องให้ดีเท่านั้น  ต่อมาเมื่อได้เกิดความเสียหายขึ้น  ผู้ซื้อโต้แย้งว่า บริษัทไม่ควรได้รับการคุ้มครองโดยข้อจำกัดของสัญญาดังกล่าว  โดยควรต้องรับผิดชอบต่อค่ารักษาพยาบาลและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ   เนื่องจากการชนกันของรถซึ่งเป็นผลจากความบกพร่องของรถยนต์  

คดีนี้ ผู้ซื้อไม่สามารถอ้างกฎหมายหรือหลักนิติธรรมที่หนักแน่นใด ๆ ซึ่งห้ามบริษัทผู้ผลิตไม่ให้ทำข้อตกลงในลักษณะดังกล่าว  ศาลเห็นพ้องกับคำร้องขอของผู้ซื้อ  โดยให้เหตุผลว่า แม้หลักเรื่องเสรีภาพในการทำสัญญาจะเป็นหลักการสำคัญในกฎหมาย  แต่ก็หาใช่ว่า จะเป็นสิ่งที่ไม่อาจเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้    บริษัทผู้ผลิตต้องมีภาระเป็นพิเศษในเรื่องการสร้าง  การโฆษณาและการขายรถยนต์ของตน     ศาลไม่ยอมปล่อยให้อยู่ใต้บังคับของข้อตกลงต่อรองซึ่งคู่กรณีฝ่ายหนึ่งได้ฉก ฉวยผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจอย่างไม่เป็นธรรมจากอีกฝ่ายหนึ่ง (ในเรื่องคดีนี้ อาจยกตัวอย่างคดีอื่นๆ ได้)
ในเมื่อได้ทำสัญญาโดยตกลงว่าความรับผิดของบริษัทผู้ผลิตจำกัดเพียงการซ่อมแซมส่วนที่ บกพร่องให้ดีเท่านั้น  ต่อมาเมื่อได้เกิดความเสียหายขึ้น  ผู้ซื้อโต้แย้งว่า บริษัทไม่ควรได้รับการคุ้มครองโดยข้อจำกัดของสัญญาดังกล่าว  โดยควรต้องรับผิดชอบต่อค่ารักษาพยาบาลและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ   เนื่องจากการชนกันของรถซึ่งเป็นผลจากความบกพร่องของรถยนต์  คดีนี้ ผู้ซื้อไม่สามารถอ้างกฎหมายหรือหลักนิติธรรมที่หนักแน่นใด ๆ ซึ่งห้ามบริษัทผู้ผลิตไม่ให้ทำข้อตกลงในลักษณะดังกล่าว  ศาลเห็นพ้องกับคำร้องขอของผู้ซื้อ  โดยให้เหตุผลว่า แม้หลักเรื่องเสรีภาพในการทำสัญญาจะเป็นหลักการสำคัญในกฎหมาย  แต่ก็หาใช่ว่า จะเป็นสิ่งที่ไม่อาจเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้    บริษัทผู้ผลิตต้องมีภาระเป็นพิเศษในเรื่องการสร้าง  การโฆษณาและการขายรถยนต์ของตน     ศาลไม่ยอมปล่อยให้อยู่ใต้บังคับของข้อตกลงต่อรองซึ่งคู่กรณีฝ่ายหนึ่งได้ฉก ฉวยผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจอย่างไม่เป็นธรรมจากอีกฝ่ายหนึ่ง (ในเรื่องคดีนี้ อาจยกตัวอย่างคดีอื่นๆ ได้)
 ดวอร์กิ้นเห็นว่า  มาตรฐานที่ศาลใช้เป็นเหตุผลของคำพิพากษามิใช่สิ่งที่เราเข้าใจว่าเป็นกฎเกณฑ์ทางกฎหมาย  แต่คือหลักการทางกฎหมาย    ในการมองธรรมชาติของกฎหมายว่ามิใช่เป็นเรื่องของกฎเกณฑ์หรือระบบแห่งกฎหมายเท่านั้น  แต่ยังมีสาระของเรื่องหลักการประกอบอยู่ด้วย  ความเชื่อตรงนี้ทำ ให้ดวอร์กิ้นวิพากษ์วิจารณ์ฮาร์ทอย่างมากในเรื่องการใช้ดุลพินิจของผู้พิพากษานอกเหน ือกฎหมาย  ในการตัดสินคดีที่ยุ่งยาก  ซับซ้อน ในลักษณะคล้ายเป็นการตรากฎหมายขึ้นใหม่  ซึ่งฮาร์ทถือว่าทำได้   แต่ดวอร์กิ้นไม่ยอมรับดุลพินิจเช่นนี้  โดยเชื่อว่าผู้พิพากษาสามารถค้นหาคำตอบได้จากหลักการภายในกฎหมายมิใช่ใช้ดุลพินิจบัญญัติกฎหมายขึ้นมาเอง

ดวอร์กิ้นเห็นว่า  มาตรฐานที่ศาลใช้เป็นเหตุผลของคำพิพากษามิใช่สิ่งที่เราเข้าใจว่าเป็นกฎเกณฑ์ทางกฎหมาย  แต่คือหลักการทางกฎหมาย    ในการมองธรรมชาติของกฎหมายว่ามิใช่เป็นเรื่องของกฎเกณฑ์หรือระบบแห่งกฎหมายเท่านั้น  แต่ยังมีสาระของเรื่องหลักการประกอบอยู่ด้วย  ความเชื่อตรงนี้ทำ ให้ดวอร์กิ้นวิพากษ์วิจารณ์ฮาร์ทอย่างมากในเรื่องการใช้ดุลพินิจของผู้พิพากษานอกเหน ือกฎหมาย  ในการตัดสินคดีที่ยุ่งยาก  ซับซ้อน ในลักษณะคล้ายเป็นการตรากฎหมายขึ้นใหม่  ซึ่งฮาร์ทถือว่าทำได้   แต่ดวอร์กิ้นไม่ยอมรับดุลพินิจเช่นนี้  โดยเชื่อว่าผู้พิพากษาสามารถค้นหาคำตอบได้จากหลักการภายในกฎหมายมิใช่ใช้ดุลพินิจบัญญัติกฎหมายขึ้นมาเอง


3.   กฎหมายประวัติศาสตร์คืออะไร มีหลักการสำคัญ 3 ประการอย่างไรบ้าง
3.   กฎหมายประวัติศาสตร์คืออะไร มีหลักการสำคัญ 3 ประการอย่างไรบ้าง
บรรทัดที่ 139: บรรทัดที่ 146:
              ทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา  เป็นทฤษฎีทางกฎหมายที่ก่อตัวขึ้นในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19   ซึ่งเป็นช่วงที่สังคมตะวันตกอยู่ในภาวะของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม  จากสังคมประเพณีที่ไม่ซับซ้อนสู่สังคมอุตสาหกรรม  (Industrial Society)   
              ทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา  เป็นทฤษฎีทางกฎหมายที่ก่อตัวขึ้นในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19   ซึ่งเป็นช่วงที่สังคมตะวันตกอยู่ในภาวะของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม  จากสังคมประเพณีที่ไม่ซับซ้อนสู่สังคมอุตสาหกรรม  (Industrial Society)   
          มีกลุ่มแนวคิดทฤษฎี  2  กลุ่ม  คือ
          มีกลุ่มแนวคิดทฤษฎี  2  กลุ่ม  คือ
1.   กลุ่มที่มีแนวความคิดค่อนมาทางปีกขวา หรืออนุรักษ์เสรีนิยม  
1.   กลุ่มที่มีแนวความคิดค่อนมาทางปีกขวา หรืออนุรักษ์เสรีนิยม   เยียริ่ง               
              เยียริ่ง  
-  ต้นกำเนิดของกฎหมายวางอยู่ที่เงื่อนไขทางสังคมวิทยา
- รากฐานอันแท้จริงของ เรื่อง “สิทธิ"” อยู่ที่ “ผลประโยชน์
- ต้นเหตุสำคัญของกฎหมายอยู่ที่การเป็นเครื่องมือเพื่อสนองตอบความต้องการของสังคม   - - 
- วัตถุประสงค์ของกฎหมายอยู่ที่การปกป้องหรือขยายการปกป้องผลประโยชน์ของสังคม             


-  ต้นกำเนิดของกฎหมายวางอยู่ที่เงื่อนไขทางสังคมวิทยา             
2.    กลุ่มที่มีแนวความคิดค่อนมาทางทางปีกซ้าย หรือโอนเอียงใกล้กับความคิดแบบสังคมนิยม      

ดิวกี้  เป็นผู้นำเสนอทฤษฎีความสมานฉันท์ของสังคม  (Social Solidarism) ซึ่งเน้นเรื่องประโยชน์ของสังคม  เน้นเรื่องการกระจายอำนาจของรัฐ  ปฏิเสธการแยกกฎหมายเอกชนกับกฎหมายมหาชน   ปฏิเสธการดำรงอยู่เรื่องสิทธิส่วนตัว  
- รากฐานอันแท้จริงของ เรื่อง “สิทธิ"” อยู่ที่ “ผลประโยชน์             
แกนกลางของกฎหมายอยู่ที่เรื่องหน้าที่  ซึ่งเป็นเครื่องมือที่จะประกันว่าแต่ละคนได้ดำเนินบทบาทของตนในการส่งเสริมความสมานฉ ันท์ในสังคม   

รอสโค พาวนด์  เป็นผู้พัฒนาทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยาให้มีรายละเอียดในเชิงปฏิบัติ  เน้นการศึกษาหรือการแก้ไขปัญหาเชิงปฎิบัติ  
- ต้นเหตุสำคัญของกฎหมายอยู่ที่การเป็นเครื่องมือเพื่อสนองตอบความต้องการของสังคม                
กฎหมายเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับคานประโยชน์ต่าง ๆ  ในสังคมเพื่อให้เกิดความสมดุล    ซึ่งวิธีการคานประโยชน์ต่าง ๆ  นั้น  ก็ด้วยการสร้างกลไกในการคานอำนาจผลประโยชน์  เสมือนการก่อสร้างหรือวิศวกรรมสังคม  จึงเรียกว่า  ทฤษฎีวิศวกรรมสังคม  (Social  Engineering Theory) 

- วัตถุประสงค์ของกฎหมายอยู่ที่การปกป้องหรือขยายการปกป้องผลประโยชน์ของสังคม                          

2.    กลุ่มที่มีแนวความคิดค่อนมาทางทางปีกซ้าย หรือโอนเอียงใกล้กับความคิดแบบสังคมนิยม     ดิวกี้  เป็นผู้นำเสนอทฤษฎีความสมานฉันท์ของสังคม  (Social Solidarism) ซึ่งเน้นเรื่องประโยชน์ของสังคม  เน้นเรื่องการกระจายอำนาจของรัฐ  ปฏิเสธการแยกกฎหมายเอกชนกับกฎหมายมหาชน   ปฏิเสธการดำรงอยู่เรื่องสิทธิส่วนตัว  แกนกลางของกฎหมายอยู่ที่เรื่องหน้าที่  ซึ่งเป็นเครื่องมือที่จะประกันว่าแต่ละคนได้ดำเนินบทบาทของตนในการส่งเสริมความสมานฉ ันท์ในสังคม    

รอสโค พาวนด์  เป็นผู้พัฒนาทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยาให้มีรายละเอียดในเชิงปฏิบัติ  เน้นการศึกษาหรือการแก้ไขปัญหาเชิงปฎิบัติ  กฎหมายเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับคานประโยชน์ต่าง ๆ  ในสังคมเพื่อให้เกิดความสมดุล    ซึ่งวิธีการคานประโยชน์ต่าง ๆ  นั้น  ก็ด้วยการสร้างกลไกในการคานอำนาจผลประโยชน์  เสมือนการก่อสร้างหรือวิศวกรรมสังคม  จึงเรียกว่า  ทฤษฎีวิศวกรรมสังคม  (Social  Engineering Theory) 


                   แบ่งอธิบายทฤษฎีของเขาเป็น  3  หัวข้อ  ได้แก่
                   แบ่งอธิบายทฤษฎีของเขาเป็น  3  หัวข้อ  ได้แก่

1.   ความหมายของผลประโยชน์
              ผลประโยชน์ คือ  “ข้อเรียกร้อง  ความต้องการ  หรือความปรารถนาที่มนุษย์ต่างยืนยันเพื่อให้ได้มาอย่างแท้จริง  และเป็นภารกิจที่กฎหมายต้องกระทำการอันใดอันหนึ่ง  เพื่อสิ่งเหล่านั้นหากต้องการธำรงไว้ซึ่งสังคมอันเป็นระเบียบเรียบร้อย”   ผลประโยชน์ดังกล่าวนี้   เป็นสิ่งที่กฎหมายมีหน้าที่ต้องตอบสนอง
                   1.   ความหมายของผลประโยชน์  ผลประโยชน์ คือ  “ข้อเรียกร้อง  ความต้องการ  หรือความปรารถนาที่มนุษย์ต่างยืนยันเพื่อให้ได้มาอย่างแท้จริง  และเป็นภารกิจที่กฎหมายต้องกระทำการอันใดอันหนึ่ง  เพื่อสิ่งเหล่านั้นหากต้องการธำรงไว้ซึ่งสังคมอันเป็นระเบียบเรียบร้อย”   ผลประโยชน์ดังกล่าวนี้   เป็นสิ่งที่กฎหมายมีหน้าที่ต้องตอบสนอง

2.   ประเภทของผลประโยชน์
              รอสโค พาวนด์   แบ่งผลประโยชน์ออกเป็น  3  ประเภท  ได้แก่
                   2.   ประเภทของผลประโยชน์        รอสโค พาวนด์   แบ่งผลประโยชน์ออกเป็น  3  ประเภท  ได้แก่


                   1.   ผลประโยชน์ของปัจเจกชน   คือ  ข้อเรียกร้อง  ความต้องการ  ความปรารถนา  และความคาดหมายในการดำรงชีวิตของปัจเจกชน  ซึ่งเกี่ยวข้องกับ
                   1.   ผลประโยชน์ของปัจเจกชน   คือ  ข้อเรียกร้อง  ความต้องการ  ความปรารถนา  และความคาดหมายในการดำรงชีวิตของปัจเจกชน  ซึ่งเกี่ยวข้องกับ
บรรทัดที่ 184: บรรทัดที่ 192:
5.ต้องสนับสนุนให้มีการตัดสินคดีบุคคลอย่างมีเหตุผลและยุติธรรม  ซึ่งมักอ้างเรื่องความแน่นอนขึ้นแทนที่มากเกินไป  
5.ต้องสนับสนุนให้มีการตัดสินคดีบุคคลอย่างมีเหตุผลและยุติธรรม  ซึ่งมักอ้างเรื่องความแน่นอนขึ้นแทนที่มากเกินไป  


6.ต้องพยายามทำให้การบรรลุจุดมุ่งหมายของกฎหมายมีผลมากขึ้น    
6.ต้องพยายามทำให้การบรรลุจุดมุ่งหมายของกฎหมายมีผลมากขึ้น        


5.   ความคิดมาร์กซิสต์วิจารณ์บทบาทของกฎหมายว่าอย่างไร  ทฤษฎีกฎหมายของมาร์กซิสต์  (The Marxist Theory of Law)   เป็นทฤษฎีที่วางอยู่บนพื้นฐานของแนวคิดแบบนิยัตินิยมทางเศรษฐกิจ (Economic  Determinism) ซึ่งเป็นแนวความคิดที่ถือว่า  เศรษฐกิจเป็นตัวกระทำฝ่ายเดียว หรือเป็นเหตุปัจจัยเดียวที่กำหนดความเป็นไปต่างๆ ในสังคม    ทฤษฎีนี้เกิดขึ้นอย่างไม่เป็นระบบ   
5.   ความคิดมาร์กซิสต์วิจารณ์บทบาทของกฎหมายว่าอย่างไร  ทฤษฎีกฎหมายของมาร์กซิสต์  (The Marxist Theory of Law)   เป็นทฤษฎีที่วางอยู่บนพื้นฐานของแนวคิดแบบนิยัตินิยมทางเศรษฐกิจ (Economic  Determinism) ซึ่งเป็นแนวความคิดที่ถือว่า  เศรษฐกิจเป็นตัวกระทำฝ่ายเดียว หรือเป็นเหตุปัจจัยเดียวที่กำหนดความเป็นไปต่างๆ ในสังคม    ทฤษฎีนี้เกิดขึ้นอย่างไม่เป็นระบบ   
บรรทัดที่ 193: บรรทัดที่ 201:
1.   กฎหมายเป็นผลผลิตหรือผลสะท้อนของโครงสร้างทางเศรษฐกิจหรือเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ
1.   กฎหมายเป็นผลผลิตหรือผลสะท้อนของโครงสร้างทางเศรษฐกิจหรือเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ
2.   กฎหมายเป็นเสมือนเครื่องมือหรืออาวุธของชนชั้นปกครองที่สร้างขึ้นเพื่อปกป้องอำนาจของตน กฎหมายเป็นเครื่องมือกดขี่ประชาชนของชนชั้นปกครอง
2.   กฎหมายเป็นเสมือนเครื่องมือหรืออาวุธของชนชั้นปกครองที่สร้างขึ้นเพื่อปกป้องอำนาจของตน กฎหมายเป็นเครื่องมือกดขี่ประชาชนของชนชั้นปกครอง
3.   สังคมคอมมิวนิสต์ที่สมบูรณ์ไม่ต้องมีกฎหมาย  กฎหมายในฐานะที่เป็นเครื่องมือของการควบคุมสังคมจะเหือดหาย  (Writering Away)   และสูญสิ้นไปในที่สุด
3.   สังคมคอมมิวนิสต์ที่สมบูรณ์ไม่ต้องมีกฎหมาย  กฎหมายในฐานะที่เป็นเครื่องมือของการควบคุมสังคมจะเหือดหาย  (Writering Away)   และสูญสิ้นไปในที่สุด               


  6.   หลักนิติธรรมและดื้อแพ่งคืออะไร   มีหลักการสำคัญอย่างไร  
  6.   หลักนิติธรรมและดื้อแพ่งคืออะไร   มีหลักการสำคัญอย่างไร  

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:37, 3 มิถุนายน 2558

นิติปรัชญา 

1.   กฎหมายธรรมชาติคืออะไร  มีพัฒนาการอย่างไร กฎหมายธรรมชาติ  เป็นทฤษฎีที่เชื่อว่า  กฎหมายที่มีอยู่ตามธรรมชาติ  เป็นกฎหมายที่อยู่เหนือรัฐและใช้ได้โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่    ความหมายของกฎหมายธรรมชาติ โดยแยกออกเป็น  2  นัย คือ นัยแรก  เป็นหลักเกณฑ์ของกฎหมายอุดมคติที่มีค่าบังคับสูงกว่ากฎหมายที่มนุษย์บัญญัติขึ้นเอง  ดังนั้น  กฎหมายใดที่มนุษย์บัญญัติขึ้นซึ่งขัดหรือแย้งต่อหลักกฎหมายธรรมชาติก็จะไม่มีค่าบังค ับเป็นกฎหมายเลย   นัยที่สอง  ถือว่าหลักกฎหมายธรรมชาติเป็นเพียงอุดมคติของกฎหมายที่รัฐบัญญัติขึ้น  ดังนั้นการบัญญัติหรือตรากฎหมายจึงควรให้สอดคล้องกับหลักการของกฎหมายธรรมชาติ  กฎหมายที่ขัดหรือแย้งกับหลักกฎหมายธรรมชาติ อาจถือว่าเป็นกฎหมายที่ไม่มีค่าบังคับในทางกฎหมายโดยสมบูรณ์  แต่ไม่ถึงกับเป็นโมฆะ  หรือไม่มีค่าบังคับในทางกฎหมายเสียเลย 

พัฒนการของกฎหมาย

1.     ยุคกรีกโบราณและโรมัน        

1.1   จุดก่อตัวของแนวคิดปรัชญากฎหมายธรรมชาติ  เกิดโดย  เฮราคลิตุส  ธรรมชาติคือความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ง  แก่นสารของชีวิตคือธรรมชาติ   

-   โซโฟครีส  เขียนหนังสือชื่อ  แอนโทโกนี  เป็นละครโศกนาฏกรรม(เรื่องการทำศพพี่ชาย)ที่บรรจุหลักการสำคัญในการแยกกฎหมายอันแท้จ ริงออกจากโครงสร้าง, อำนาจรัฐ  และยืนยันความเป็นโมฆะของกฎหมายแผ่นดินที่ขัดหรือแย้งกับกฎหมายธรรมชาติหรือความยุติ ธรรม   เนื่องจากโซโฟครีส   เชื่อหลักความเป็นธรรมตามธรรมชาติ 

-  เพลโต  สรุปว่า  กฎหมายธรรมชาติเป็นความคิดหรือแบบอันไม่มีวันเปลี่ยนแปลงสำหรับใช้เป็นบรรทัดฐานต่อกฎหมายบ้านเมือง  และมีเพียงราชาปราชญ์ผู้สามารถเข้าถึง “แบบ”    

1.2      พวก  Homo  mensura เป็นพวกที่ไม่เชื่อว่ากฎหมายมีอยู่ในธรรมชาติ  แต่มนุษย์เป็นผู้สร้างกฎหมายขึ้นมา   

1.3     สำนักสโตอิค  มีแนวความคิดพื้นฐานว่า ในจักรวาลประกอบด้วย “เหตุผล” ซึ่งเป็นเสมือนกฎเกณฑ์ธรรมชาติที่มีลักษณะแน่นอน  มนุษย์ซึ่งถูกกำหนดควบคุมโดย “เหตุผล”     

1.4   จักรวรรดิโรมัน  ได้นำหลักกฎหมายธรรมชาติไปปรับใช้ในการพัฒนาระบบกฎหมายของโรมันให้มีความเหมาะสมเป็น ธรรม    

2.   ยุคมืด และช่วงแรกของยุคกลาง  ยุคมืด และช่วงแรกของยุคกลาง   ศาสนจักรโรมันคาทอลิกก็เข้าครอบงำและพัฒนาเปลี่ยนแปลงปรัชญากฎหมายธรรมชาติให้สอดคล้ องกับหลักคำสอนของคริสต์ศาสนา  (เน้นว่า กฎหมายที่ขัดต่อคำสอนของศาสนาไม่เป็นกฎหมาย)โดยนำแนวคิดเรื่องบาปโดยกำเนิด (Original Sin)  เข้ามาแทนที่ “เหตุผล”    ช่วงที่สองของยุคกลาง   เซนต์ โทมัส อไควนัส ยืนยันว่ากฎหมายธรรมชาติสูงกว่ากฎหมายที่รัฐบัญญัติขึ้น (เจตจำนงของพระเจ้าคือที่มาของกฎหมาย)  และได้แบ่งกฎหมายออกเป็น  4  ประเภท คือ 

1)   กฎหมายนิรันดร์         

2 )   กฎหมายธรรมชาติ      

3.)   กฎหมายศักดิ์สิทธิ์        

4.)   กฎหมายของมนุษย์  

3.   ยุคฟื้นฟู และยุคปฏิรูป  (เป็นยุคที่เกิดกฎหมายระหว่างประเทศ) เป็นยุคที่ปรัชญากฎหมายธรรมชาติแยกออกจากการครอบงำของศาสนาคริสต์  มาสู่การวิเคราะห์เชิงวิทยาศาสตร์  ฮูโก  โกรเชียส  ได้นำหลักการของกฎหมายธรรมชาติบางเรื่องไปเป็นรากฐานในการบัญญัติกฎหมายระหว่างประเทศ  จนได้รับยกย่องว่าเป็นบิดาของกฎหมายระหว่างประเทศ          

4.   ยุคชาติรัฐนิยม   เป็นยุคที่กฎหมายธรรมชาติมีความเสื่อมลง เพราะ     

1)   กระแสสูงของลัทธิชาติรัฐนิยม  (Nationalism)    

2)   ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์  และวิธีคิดเชิงประจักษ์วาทแบบแบบวิทยาศาสตร์ และภายใต้ความคิดทางแบบวิทยาศาสตร์นี้ก็ยังเป็นพื้นฐานให้เกิดลัทธิอรรถประโยชน์และทฤษฎีปฏิฐานนิยมทางกฎหมาย    

5.   ยุคปัจจุบัน (ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2) มีการฟื้นตัวของกฎหมายธรรมชาติ  อันเนื่องจากองค์การสหประชาชาติ (UN)  รณรงค์ให้เคารพในสิทธิมนุษยชน (Human Rights)   ในยุคนี้ปรัชญากฎหมายธรรมชาติมีบทบาทอยู่  2  ลักษณะ    

5.1)   ในแง่สนับสนุนอุดมคตินิยมทางกฎหมายเชิงจริยธรรม     

5.2)   เป็นทฤษฎีเกี่ยวกับสิทธิซึ่งสนับสนุนเรื่องสิทธิมนุษยชน   

ในยุคนี้ทำให้เกิดกฎหมายธรรมชาติร่วมสมัย     

ฟูลเลอร์  เชื่อมั่นในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับศีลธรรม  เน้นความสำคัญของเรื่อง “วัตถุประสงค์”  ซึ่งประกาศว่า กฎหมายจำต้องบรรจุด้วยหลักเกณฑ์ทางศีลธรรม  หรือที่เขาเรียกว่า  “The  Inner Morality of Law”      โดยต้องปฎิบัติตามเงื่อนไขสำคัญ  8 ประการ      

1)   กฎหมายต้องมีลักษณะทั่วไป      

2)   ต้องถูกตีพิมพ์เผยแพร่ให้ปรากฏแก่สาธารณะ       

3)   ต้องไม่มีผลย้อนหลัง     

4)   ต้องมีลักษณะชัดแจ้ง  และสามารถเป็นที่เข้าใจได้     

5)   ต้องไม่มีความขัดแย้งกัน    

6)   ต้องไม่เป็นการกำหนดบังคับในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้    

7)   ต้องมีความมั่นคง  แน่นอน   

8)   ต้องมีความกลมกลืน    

จอห์น  ฟินนีส    อธิบายทฤษฎีกฎหมายธรรมชาติ ด้วยการหาคำตอบเกี่ยวกับลักษณะของชีวิตที่มีคุณค่า โดยเริ่มจากสมมติฐานหลัก 2  ประการ  คือ     1)   รูปแบบพื้นฐานแห่งความมั่งคั่งรุ่งเรืองของมนุษย์     2)     สิ่งจำเป็นเชิงวิชาการพื้นฐานของความชอบด้วยเหตุผลเชิงปฏิบัติ     

จุดอ่อน   

-   ความเป็นนามธรรมอย่างสูง      

-   ไม่สามารถพิสูจน์ตรวจสอบความถูกต้องได้ด้วยวิธีการทาง   

-   ไม่ถูกต้องตามหลักตรรกะ   


2.   ปฏิฐานนิยมทางกฎหมายคืออะไร  ฟุลเลอร์และดวอร์กิ้นได้วิจารณ์ฮาร์ทอย่างไร ทฤษฎีปฎิฐานนิยมทางกฎหมาย หรือ“กฎหมายบ้านเมือง” (กฎหมายต้องเป็นกฎหมาย)  มีแนวคิดหลักว่ากฎหมายคือเจตจำนงหรือคำสั่งของรัฏฐาธิปัตย์,  ความสมบูรณ์ของกฎหมายอยู่ที่สภาพบังคับที่เด็ดขาด,  กฎหมายนั้นไม่จำต้องผูกติดสัมพันธ์กับความยุติธรรมหรือหลักจริยธรรมใด ๆ  จึงทำให้ทฤษฎีปฏิฐานนิยมทางกฎหมาย  เป็นแนวคิดที่สวนทางกลับทฤษฎีกฎหมายธรรมชาติ  ทรรศนะพื้นฐานสำคัญ

1)   ข้อเท็จจริงหรือสิ่งที่เป็นอยู่จริง  (Is) หาใช่เป็นสิ่งเดียวหรือสัมพันธ์กับหลักคุณค่าบรรทัดฐานหรือสิ่งที่ควรจะเป็น (Ought) ไม่  

2)   กฎหมายเป็นผลผลิตหรือเป็นสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นโดยอำนาจปกครองในสังคม แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีปฏิฐานนิยมทางกฎหมาย  แบ่งออกเป็น  3  ประการ  คือ

1.    กฎหมายไม่เกี่ยวข้องกับศีลธรรม  

2.    กฎหมายมาจากรัฎฐาธิปัตย์  

3.    กฎหมายเป็นสิ่งที่มีสภาพบังคับหรือมีบทลงโทษ  

พัฒนาการทางทฤษฎีนี้เป็นผลทำให้การแยกทฤษฎีออกเป็นสองแบบฉบับ (Version)  คือ

1.   แบบฉบับดั้งเดิม  ในคริสต์ศตวรรษที่ 19   

-   เบนแธม (is กับ ought แยกออกจากกัน) เป็นนักปรัชญาและนักปฏิรูปกฎหมายคนสำคัญของชาวอังกฤษ    และเป็นผู้สนับสนุนลัทธิหรือหลักอรรถประโยชน์    ซึ่งเชื่อว่า  คุณค่าของการกระทำใด ๆ ล้วนต้องพิจารณาจากผลลัพธ์ในแง่อรรถประโยชน์หรือความสุขที่เกิดขึ้น

-   ออสติน  (Austin)  ทฤษฎีคำสั่งแห่งกฎหมาย   ซึ่งเรียกกันในภายหลังว่า “นิติศาสตร์เชิงวิเคราะห์”    ซึ่งจะเน้นที่ลักษณะภายนอกของสภาพบังคับกฎหมาย  หรือเน้นที่ตัวบุคคลผู้มีอำนาจออกกฎหมาย  2.   แบบฉบับซึ่งได้รับการพัฒนาแก้ไขปรับปรุง    ในคริสต์ศตวรรษที่ 20   

-   ฮาร์ท   (จะเน้นประสิทธิภาพของกฎหมาย) ถือว่า   ระบบกฎหมายนั้นเป็นระบบแห่งกฎเกณฑ์ทางสังคมรูปแบบหนึ่ง  “โดยพื้นฐานแท้จริงแล้ว  การยึดมั่นของปฎิฐานนิยมทางกฎหมายในบทสรุปของแนวคิดเรื่องการแยกกฎหมายออกจากศีลธรรม นั้น   ในตัวของมันวางอยู่บนเหตุผลทางศีลธรรม”    และได้แบ่งกฎเกณฑ์ของ   “ระบบกฎหมาย”   ออกเป็น  2  ประเภท  คือ กฎปฐมภูมิและกฎทุติยภูมิ ในทรรศนะของฮาร์ท  ถือว่าเป็นกฎหลักสองประการที่เน้นประสิทธิภาพของกฎหมาย     ทำให้กฎเกณฑ์ทางกฎหมายมีความสมบูรณ์

1)   กฎปฐมภูมิ (สารบัญญัติ) หมายถึง  กฎเกณฑ์ทั่วไปซึ่งวางบรรทัดฐานการประพฤติให้คนทั่วไปในสังคม  และก่อให้เกิดหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติตามในลักษณะเป็นกฎหมายเบื้องต้นทั่วไป       2)   กฎทุติยภูมิ (วิธีสบัญญัติ)  หมายถึง  กฎเกณฑ์พิเศษที่สร้างขึ้นมาเสริมความสมบูรณ์ของกฎปฐมภูมิ   เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการบังคับใช้มากยิ่งขึ้น      โดยองค์ประกอบของกฎทุติยภูมิออกเป็น 3 กฎย่อย  คือ 1)   กฎที่กำหนดเกณฑ์การรับรองความเป็นกฎหมายที่สมบูรณ์  

2)   กฎที่กำหนดเกณฑ์การบัญญัติและแก้ไขเปลี่ยนแปลง

3)   กฎที่กำหนดเกณฑ์การวินิจฉัยชี้ขาดตัดสิน ข้อวิจารณ์ของ   ฟูลเลอร์  (Fuller)   ที่มีต่อระบบกฎเกณฑ์ของฮาร์ท ฟูลเลอร์  เป็นนักทฤษฎีฝ่ายกฎหมายธรรมชาติ    -   ยอมรับข้อเสนอของฮาร์ทที่ว่า  “กฎหมายคือระบบของกฎเกณฑ์”     -   แต่ก็ยังยืนยันความสำคัญของเรื่องวัตถุประสงค์ภายในตัวกฎหมาย        ฟูลเลอร์  ไม่เห็นด้วยอย่างมากกับการที่ฮาร์ทสรุปว่า  กฎหมายเป็นเรื่องของกฎเกณฑ์ล้วน ๆ  และไม่จำต้องเกี่ยวข้องกับหลักศีลธรรมหรือหลักคุณค่านามธรรมเสมอไป   กล่าวคือ  ฟูลเลอร์เห็นว่า  “กฎหมายนั้นต้องสนองตอบความจำเป็นหรือวัตถุประสงค์ทางศีลธรรม  กฎหมายและศีลธรรมจึงเป็นสิ่งที่ไม่อาจแยกออกจากกันได้  กฎหมายจะต้องมีสิ่งที่อาจเรียกว่า  “ศีลธรรมภายในกฎหมาย”  บรรจุอยู่เสมอ” และ ไม่เห็นด้วยกับฮาร์ทที่แยกกฎปฐมภูมิซึ่งเป็นกฎที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดพันธะหน้าที่ และกฎทุติยภูมิซึ่งเป็นกฎเกี่ยวกับการให้อำนาจด้านกฎหมาย  ออกจากกันโดยเด็ดขาด  เพราะในบางสถานการณ์กฎอันเดียวกันอาจให้ทั้งอำนาจและกำหนดหน้าที่  ไม่จำกัดบทบาทเพียงอย่างหนึ่งอย่างใด  หากแต่ต้องแปรผันไปตามสภาพแวดล้อม  ข้อวิจารณ์ของ    ดวอร์กิ้น  (Dworkin)  ที่มีต่อระบบกฎเกณฑ์ของฮาร์ท ดวอร์กิ้น  วิจารณ์แนวคิดเรื่อง”ระบบแห่งกฎเกณฑ์”  โดยเห็นว่า  การถือว่ากฎหมายเป็นเพียงเรื่องระบบแห่งกฎเกณฑ์ตามความคิดของฮาร์ทนั้น  เป็นข้อสรุปที่ไม่สมบูรณ์และคับแคบเกินไป  เพราะจริง ๆ แล้ว  “กฎเกณฑ์”  ไม่ใช่เนื้อหาสาระเดียวในกฎหมาย  การมองกฎหมายว่าเป็นเรื่องของกฎเกณฑ์เท่านั้นไม่เป็นสิ่งที่เพียงพอ  กฎเกณฑ์เป็นเพียงส่วนหนึ่งของกฎหมายเท่านั้น  แท้จริงแล้วยังมีเนื้อหาสาระสำคัญอื่น ๆ ซึ่งประกอบอยู่ภายในกฎหมาย  ที่สำคัญคือเนื้อหาสาระที่เป็นเรื่องของ “หลักการ” ทางศีลธรรม  หรือความเป็นธรรม ดวอร์กิ้นถือว่า “หลักการ” เป็นมาตรฐานภายในกฎหมายซึ่งต้องเคารพรักษา ซึ่ง  “หลักการ”  ต่างกับ  “กฎเกณฑ์”  ตรงที่กฎเกณฑ์มีลักษณะใช้ได้ทั่วไปมากกว่า  ขณะที่หลักการต้องเลือกปรับใช้ในบางคดี  

ในจุดนี้  ดวอร์กิ้น  ได้ยกตัวอย่างที่เขาต้องการชี้ให้เห็นความแตกต่าง ระหว่าง “หลักการ” และ “กฎเกณฑ์"   เช่น  คดี Henningsen V. Bloomfield Motors   ซึ่ง มีประเด็นสำคัญว่า บริษัทผู้ผลิตยางรถยนต์สามารถจำกัดความรับผิดของตนในความเสียหายที่เกิดขึ้น เนื่องจา กความบกพร่องในการผลิตได้เพียงใด

ในเมื่อได้ทำสัญญาโดยตกลงว่าความรับผิดของบริษัทผู้ผลิตจำกัดเพียงการซ่อมแซมส่วนที่ บกพร่องให้ดีเท่านั้น  ต่อมาเมื่อได้เกิดความเสียหายขึ้น  ผู้ซื้อโต้แย้งว่า บริษัทไม่ควรได้รับการคุ้มครองโดยข้อจำกัดของสัญญาดังกล่าว  โดยควรต้องรับผิดชอบต่อค่ารักษาพยาบาลและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ   เนื่องจากการชนกันของรถซึ่งเป็นผลจากความบกพร่องของรถยนต์  คดีนี้ ผู้ซื้อไม่สามารถอ้างกฎหมายหรือหลักนิติธรรมที่หนักแน่นใด ๆ ซึ่งห้ามบริษัทผู้ผลิตไม่ให้ทำข้อตกลงในลักษณะดังกล่าว  ศาลเห็นพ้องกับคำร้องขอของผู้ซื้อ  โดยให้เหตุผลว่า แม้หลักเรื่องเสรีภาพในการทำสัญญาจะเป็นหลักการสำคัญในกฎหมาย  แต่ก็หาใช่ว่า จะเป็นสิ่งที่ไม่อาจเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้    บริษัทผู้ผลิตต้องมีภาระเป็นพิเศษในเรื่องการสร้าง  การโฆษณาและการขายรถยนต์ของตน     ศาลไม่ยอมปล่อยให้อยู่ใต้บังคับของข้อตกลงต่อรองซึ่งคู่กรณีฝ่ายหนึ่งได้ฉก ฉวยผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจอย่างไม่เป็นธรรมจากอีกฝ่ายหนึ่ง (ในเรื่องคดีนี้ อาจยกตัวอย่างคดีอื่นๆ ได้)

ดวอร์กิ้นเห็นว่า  มาตรฐานที่ศาลใช้เป็นเหตุผลของคำพิพากษามิใช่สิ่งที่เราเข้าใจว่าเป็นกฎเกณฑ์ทางกฎหมาย  แต่คือหลักการทางกฎหมาย    ในการมองธรรมชาติของกฎหมายว่ามิใช่เป็นเรื่องของกฎเกณฑ์หรือระบบแห่งกฎหมายเท่านั้น  แต่ยังมีสาระของเรื่องหลักการประกอบอยู่ด้วย  ความเชื่อตรงนี้ทำ ให้ดวอร์กิ้นวิพากษ์วิจารณ์ฮาร์ทอย่างมากในเรื่องการใช้ดุลพินิจของผู้พิพากษานอกเหน ือกฎหมาย  ในการตัดสินคดีที่ยุ่งยาก  ซับซ้อน ในลักษณะคล้ายเป็นการตรากฎหมายขึ้นใหม่  ซึ่งฮาร์ทถือว่าทำได้   แต่ดวอร์กิ้นไม่ยอมรับดุลพินิจเช่นนี้  โดยเชื่อว่าผู้พิพากษาสามารถค้นหาคำตอบได้จากหลักการภายในกฎหมายมิใช่ใช้ดุลพินิจบัญญัติกฎหมายขึ้นมาเอง

3.   กฎหมายประวัติศาสตร์คืออะไร มีหลักการสำคัญ 3 ประการอย่างไรบ้าง กฎหมายประวัติศาสตร์  หรือ สำนักกฎหมายประวัติศาสตร์ เป็นสำนักที่นำเอาการวิเคราะห์หรือองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ไปใช้ใน กฎหมาย เพื่อสร้างทฤษฎีกฎหมายในเชิงนิติปรัชญา สำนักกฎหมายประวัติศาสตร์ถือกำเนิดขึ้นโดยนักนิติศาสตร์ชาวเยอรมัน ชื่อ ฟอน ซาวิญยี่  ที่ไม่เห็นด้วยกับข้อเสนอของศาสตราจารย์ทีเบาท์ แห่งมหาวิทยาลัยไฮเดลเบิร์ค  ที่ให้ทำการยกร่างประมวลกฎหมายเยอรมนี ซาวิญยี่เห็นว่า  1.   มีรากเหง้าที่หยั่งลึกอยู่ในประวัติศาสตร์ของประชาชาติ   2.   มีกำเนิดและเติบโตเรื่อยมาจากประสบการณ์และหลักความประพฤติทั่วไปของประชาชน   3.   ปรากฏในรูป  “จิตสำนึกร่วมกันของประชาชน”   

              หลักการสำคัญของกฎหมายประวัติศาสตร์  จากความคิดพื้นฐานของซาวิญยี่  มีดังนี้ 1.   กฎหมายเป็นสิ่งที่ถูกค้นพบ  มิใช่สิ่งที่ถูกสร้างขึ้น  2.   นักกฎหมายเป็นเสมือนปากเสียงของจิตสำนึกของประชาชน นักกฎหมายจึงมีความสำคัญมากกว่านักนิติปรัชญาในแง่ของการเป็นบุคคลผู้สร้างกฎหมาย 3.   กฎหมายมิใช้สิ่งที่มีความสมบูรณ์อย่างสากล  มิใช่สิ่งที่จะนำมาปรับใช้ได้ทุก ๆ แห่งเหมือนกัน                  ประเด็นสำคัญที่เสนอคือ  ถ้าจะสร้างกฎหมายหรือตรากฎหมายขึ้นมาต้องสร้างกฎหมายที่ถูกต้องสอดคล้องกับจิตวิญญาณ ของคนในชาติ หรือเจตจำนงของประชาชน  


4.   นิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยาคืออะไร  รอสโคพาวน์อธิบายทฤษฎีวิศวกรรมสังคมว่าอย่างไร    นิติศาสตร์เชิงสังคม เป็นแนวความคิดหรือทฤษฎีทางนิติศาสตร์ที่เน้นบทบาทของกฎหมายต่อสังคม  อันเป็นการพิจารณาถึงบทบาทหน้าที่ของกฎหมายหรือการทำงานของกฎหมายมากกว่าการสนใจกฎหม ายในแง่ที่เป็นเนื้อหาสาระซึ่งเป็นนามธรรมลอย ๆ                       ทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา  เป็นทฤษฎีทางกฎหมายที่ก่อตัวขึ้นในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19   ซึ่งเป็นช่วงที่สังคมตะวันตกอยู่ในภาวะของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม  จากสังคมประเพณีที่ไม่ซับซ้อนสู่สังคมอุตสาหกรรม  (Industrial Society)              มีกลุ่มแนวคิดทฤษฎี  2  กลุ่ม  คือ 1.   กลุ่มที่มีแนวความคิดค่อนมาทางปีกขวา หรืออนุรักษ์เสรีนิยม   เยียริ่ง               

-  ต้นกำเนิดของกฎหมายวางอยู่ที่เงื่อนไขทางสังคมวิทยา             

- รากฐานอันแท้จริงของ เรื่อง “สิทธิ"” อยู่ที่ “ผลประโยชน์             

- ต้นเหตุสำคัญของกฎหมายอยู่ที่การเป็นเครื่องมือเพื่อสนองตอบความต้องการของสังคม                

- วัตถุประสงค์ของกฎหมายอยู่ที่การปกป้องหรือขยายการปกป้องผลประโยชน์ของสังคม                          

2.    กลุ่มที่มีแนวความคิดค่อนมาทางทางปีกซ้าย หรือโอนเอียงใกล้กับความคิดแบบสังคมนิยม     ดิวกี้  เป็นผู้นำเสนอทฤษฎีความสมานฉันท์ของสังคม  (Social Solidarism) ซึ่งเน้นเรื่องประโยชน์ของสังคม  เน้นเรื่องการกระจายอำนาจของรัฐ  ปฏิเสธการแยกกฎหมายเอกชนกับกฎหมายมหาชน   ปฏิเสธการดำรงอยู่เรื่องสิทธิส่วนตัว  แกนกลางของกฎหมายอยู่ที่เรื่องหน้าที่  ซึ่งเป็นเครื่องมือที่จะประกันว่าแต่ละคนได้ดำเนินบทบาทของตนในการส่งเสริมความสมานฉ ันท์ในสังคม    

รอสโค พาวนด์  เป็นผู้พัฒนาทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยาให้มีรายละเอียดในเชิงปฏิบัติ  เน้นการศึกษาหรือการแก้ไขปัญหาเชิงปฎิบัติ  กฎหมายเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับคานประโยชน์ต่าง ๆ  ในสังคมเพื่อให้เกิดความสมดุล    ซึ่งวิธีการคานประโยชน์ต่าง ๆ  นั้น  ก็ด้วยการสร้างกลไกในการคานอำนาจผลประโยชน์  เสมือนการก่อสร้างหรือวิศวกรรมสังคม  จึงเรียกว่า  ทฤษฎีวิศวกรรมสังคม  (Social  Engineering Theory) 

                   แบ่งอธิบายทฤษฎีของเขาเป็น  3  หัวข้อ  ได้แก่

                   1.   ความหมายของผลประโยชน์  ผลประโยชน์ คือ  “ข้อเรียกร้อง  ความต้องการ  หรือความปรารถนาที่มนุษย์ต่างยืนยันเพื่อให้ได้มาอย่างแท้จริง  และเป็นภารกิจที่กฎหมายต้องกระทำการอันใดอันหนึ่ง  เพื่อสิ่งเหล่านั้นหากต้องการธำรงไว้ซึ่งสังคมอันเป็นระเบียบเรียบร้อย”   ผลประโยชน์ดังกล่าวนี้   เป็นสิ่งที่กฎหมายมีหน้าที่ต้องตอบสนอง

                   2.   ประเภทของผลประโยชน์        รอสโค พาวนด์   แบ่งผลประโยชน์ออกเป็น  3  ประเภท  ได้แก่

                   1.   ผลประโยชน์ของปัจเจกชน   คือ  ข้อเรียกร้อง  ความต้องการ  ความปรารถนา  และความคาดหมายในการดำรงชีวิตของปัจเจกชน  ซึ่งเกี่ยวข้องกับ

-  ผลประโยชน์ด้านบุคลิกภาพส่วนตัว  

-  ความสัมพันธ์ทางครอบครัว   

-   ผลประโยชน์อันเป็นแก่นสาระสำคัญ   ซึ่งรวมถึงการมีทรัพย์สินส่วนบุคคล และเสรีภาพในการประกอบกิจการในด้านต่าง ๆ     

2.   ผลประโยชน์ของมหาชน     

3.   ผลประโยชน์ของสังคม   

3.           วิธีการคานหรือถ่วงดุลผลประโยชน์              การนำเอาผลประโยชน์แต่ละประเภทมาคานกันให้เกิดการขัดแย้งน้อยที่สุดในสังคมแบบการกระ ทำวิศวกรรม 

ภาระสำคัญ 6 ประการของนักนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา  ดังนี้  

1.ต้องศึกษาถึงผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงของสถาบันทางกฎหมายและทฤษฎีกฎหมาย  

2.ต้องศึกษาเชิงสังคมวิทยาในเรื่องการตระเตรียมการนิติบัญญัติโดยเฉพาะในเรื่องของผลการนิติบัญญัติเชิงเปรียบเทียบ  

3.ต้องศึกษาถึงเครื่องมือหรือกลไกที่จะทำให้กฎเกณฑ์ทางกฎหมายมีประสิทธิภาพ  ใช้ได้ผลจริง  โดยถือว่า “ความมีชีวิตของกฎหมายปรากฏอยู่ที่การบังคับใช้กฎหมาย”  

4.ต้องศึกษาประวัติศาสตร์กฎหมายเชิงสังคมวิทยา  ด้วยการตรวจพิจารณาดูว่า  ทฤษฎีกฎหมายต่าง ๆ ได้ส่งผลลัพธ์ประการใดบ้างในอดีต  

5.ต้องสนับสนุนให้มีการตัดสินคดีบุคคลอย่างมีเหตุผลและยุติธรรม  ซึ่งมักอ้างเรื่องความแน่นอนขึ้นแทนที่มากเกินไป  

6.ต้องพยายามทำให้การบรรลุจุดมุ่งหมายของกฎหมายมีผลมากขึ้น        

5.   ความคิดมาร์กซิสต์วิจารณ์บทบาทของกฎหมายว่าอย่างไร  ทฤษฎีกฎหมายของมาร์กซิสต์  (The Marxist Theory of Law)   เป็นทฤษฎีที่วางอยู่บนพื้นฐานของแนวคิดแบบนิยัตินิยมทางเศรษฐกิจ (Economic  Determinism) ซึ่งเป็นแนวความคิดที่ถือว่า  เศรษฐกิจเป็นตัวกระทำฝ่ายเดียว หรือเป็นเหตุปัจจัยเดียวที่กำหนดความเป็นไปต่างๆ ในสังคม    ทฤษฎีนี้เกิดขึ้นอย่างไม่เป็นระบบ   

มาร์กซ  นักกฎหมายชาวยิว มองกฎหมายว่าเป็นเพียงกลไกเพื่อรับใช้ประโยชน์ของคนบางกลุ่มบางชนชั้นที่มีอำนาจในสั งคม  มิใช่เป็นกลไกที่มีความเป็นอิสระในการใช้ประนีประนอมผลประโยชน์ขัดแย้งทั้งหลาย  มาร์กซ  มีท่าทีต่อต้านทฤษฎีปฏิฐานนิยม  

                นักทฤษฎีมาร์กซิสต์ได้สรุปความและวิจารณ์ธรรมชาติหรือบทบาทของกฎหมายเป็นข้อสรุปดังน ี้ 1.   กฎหมายเป็นผลผลิตหรือผลสะท้อนของโครงสร้างทางเศรษฐกิจหรือเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ 2.   กฎหมายเป็นเสมือนเครื่องมือหรืออาวุธของชนชั้นปกครองที่สร้างขึ้นเพื่อปกป้องอำนาจของตน กฎหมายเป็นเครื่องมือกดขี่ประชาชนของชนชั้นปกครอง 3.   สังคมคอมมิวนิสต์ที่สมบูรณ์ไม่ต้องมีกฎหมาย  กฎหมายในฐานะที่เป็นเครื่องมือของการควบคุมสังคมจะเหือดหาย  (Writering Away)   และสูญสิ้นไปในที่สุด               

  6.   หลักนิติธรรมและดื้อแพ่งคืออะไร   มีหลักการสำคัญอย่างไร   หลักนิติธรรม  หมายถึง  “การเคารพเชื่อฟังต่อกฎหมาย หรือ  การที่รัฐบาลต้องปกครองด้วยกฎหมายและอยู่ภายใต้กฎหมาย” (นั่นคือ กฎหมายจะสูงสุด)  นอกจากนี้ยังมีความหมายของหลักนิติธรรมตามที่มีบุคคลต่าง ๆ ได้ให้นิยามความหมายไว้ที่สำคัญ ดังนี้ อริสโตเติ้ล  “ปัญญาที่ตัดขาดแล้วจากอารมณ์ความรู้สึก” ไดซีย์   มีนัย   3  ประการ  คือ   

  1.    การที่ฝ่ายบริหารไม่มีอำนาจลงโทษบุคคลใดได้ตามอำเภอใจ 

  2.   ไม่มีบุคคลใดอยู่เหนือกฎหมาย 

  3.   หลักทั่วไปของกฎหมายรัฐธรรมนูญหรือสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนเป็นผลมาจากคำวินิจฉัยตัดสินของศาลหรือกฎหมายธรรมดา (เฉพาะประเทศอังกฤษ)   มิใช่เกิดจากการรับรองค้ำประกันเป็นพิเศษโดยรัฐธรรมนูญ  ดังกรณีของรัฐธรรมนูญประเทศอื่น  ไดซีย์ได้กล่าวอย่างน่าสนใจว่า  “ หลักนิติธรรมนั้นตรงกันข้ามกับรัฐบาลทุกระบบที่บุคคลผู้มีอำนาจสามารถใช้ อำนาจจับกุม คุมขังบุคคลใดได้อย่างกว้างขวางโดยพลการหรือตามดุลพินิจของตนเอง ”คณะกรรมการนักนิติศาสตร์สากล เน้นย้ำถึงเรื่องการมีสิทธิเสรีภาพและการยอมรับในศักดิ์ศรีของมนุษย์ เชื่อว่าเป็นคุณสมบัติอันจำเป็นสำหรับความเป็นมนุษย์ที่แท้จริง  โดยมีกลุ่มสิทธิ 2  ประเภทที่เน้นย้ำความสำคัญ  คือ สิทธิทางแพ่งและทางการเมืองประการหนึ่ง   และสิทธิทางเศรษฐกิจและสังคมอีกประการหนึ่ง    สำหรับประเทศไทย สิทธิมนุษยชนโดยหลักนิติธรรม  มีปรากฏใน รธน.แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540  เช่น  

  มาตรา 4  ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์  สิทธิและเสรีภาพของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง  

  มาตรา 26  การใช้อำนาจโดยองค์กรของรัฐทุกองค์กร  ต้องคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์  สิทธิ และเสรีภาพตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้  

  มาตรา  28 บุคคลย่อมอ้างศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์  หรือใช้สิทธิและเสรีภาพของตนได้เท่าที่ไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น  ไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน  บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว้สามารถยกบท บัญญัติแห่ง รัฐธรรมนูญนี้เพื่อใช้สิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้คดีในศาลได้ (เวลาตอบให้ยกตัวอย่าง อองซาน ซูจี ในการถูกละเมิดสิทธิ เสรีภาพ) 

การดื้อแพ่งกฎหมาย คือ  การกระทำที่เป็นการฝ่าฝืนกฎหมายโดยสันติวิธี  เป็นการกระทำเชิงศีลธรรม  ในลักษณะของการประท้วงคัดค้านต่อกฎหมายที่ไม่เป็นธรรมหรือต่อการกระทำของรัฐบาลที่เห ็นว่าไม่ถูกต้อง  โดยการขัดขืนไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ไม่ให้ความร่วมมือ โดยต้องมีเหตุผลรองรับที่เชื่อถือได้ จึงจะสามารถยกเว้นหลักทั่วไปที่ต้องเชื่อฟังกฎหมาย   วิวาทะเรื่องการดื้อแพ่งกฎหมายของประชาชน -  ฝ่ายที่ไม่เห็นด้วย  ยืนยันว่า  ความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมายที่ทุกคนต้องเชื่อฟังโดยไม่มีข้อยกเว้นใด  

-  ฝ่ายที่เห็นด้วย    ยืนยันว่า  กฎหมายที่ไม่เป็นธรรมไม่ใช่กฎหมาย   รอลส์  ให้ความเห็นชอบในเรื่องการดื้อแพ่งกฎหมายของประชาชน  แต่ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขแห่งความชอบธรรม    4  ประการ   ดังนี้  1.  ต้องเป็นการกระทำที่มีจุดประสงค์ของการสร้างความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นแก่สังคม    

2.  กฎหมายที่ต่อต้านหรือดื้อแพ่งนั้น  ต้องเป็นกฎหมายที่ขาดความชอบธรรมเป็นอย่างมาก                 

3.  การไม่เคารพหรือต่อต้านกฎหมายต้องเป็นการปฏิบัติการซึ่งเป็นทางเลือกสุดท้าย    

4.  การต่อต้านกฎหมายต้องกระทำโดยสันติวิธี,  โดยเปิดเผย  

อ้างอิง

[1]

  1. http://www.scribd.com/doc/154898295/%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A2-%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%8D%E0%B8%B2-%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81#scribd