ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตำราอาหาร:ยำเปรู"

จาก วิกิตำรา
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขโดย 110.168.7.202 (Talk) ไปยังรุ่นแก้ไขล่าสุดโดย Pitpisit
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ยำเปรู''' เป็นอาหารของเปรู และได้มีการนำมาให้ชาวไทยได้รับประทานในเทศกาลอาหารนานาชาติเชียงใหม่ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2554 และต่อมาได้มีการนำสูตรมาปรับใช้กับเครื่องปรุงไทยในภายหลัง<ref>ครัวลอยฟ้า. '''หนังสือพิมพ์คมชัดลึก'''. ปีที่ 10 ฉบับที่ 3564. วันอาทิตย์ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2554. หน้า 10</ref>ยำเหี้ยไรเอาไปให้แม่มึงกินไปควย
'''ยำเปรู''' เป็นอาหารของเปรู และได้มีการนำมาให้ชาวไทยได้รับประทานในเทศกาลอาหารนานาชาติเชียงใหม่ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2554 และต่อมาได้มีการนำสูตรมาปรับใช้กับเครื่องปรุงไทยในภายหลัง<ref>ครัวลอยฟ้า. '''หนังสือพิมพ์คมชัดลึก'''. ปีที่ 10 ฉบับที่ 3564. วันอาทิตย์ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2554. หน้า 10</ref>


== เครื่องปรุง ==
== เครื่องปรุง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:13, 10 กันยายน 2560

ยำเปรู เป็นอาหารของเปรู และได้มีการนำมาให้ชาวไทยได้รับประทานในเทศกาลอาหารนานาชาติเชียงใหม่ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2554 และต่อมาได้มีการนำสูตรมาปรับใช้กับเครื่องปรุงไทยในภายหลัง[1]

เครื่องปรุง

  1. หอยแมลงภู่นิวซีแลนด์ 10 ตัว
  2. ปลาหมึกกล้วย 3 ตัว
  3. หอมแดงหั่นซอย 5 หัว
  4. ข้าวโพดต้ม 4 ฝัก
  5. มะเขือเทศโครงการหลวงหั่นลูกเต๋า 10 ผล
  6. ผักชีหั่นละเอียด 2 ต้น
  7. ซอสพริกเปรู (อาจใช้ซอสพริกศีราชาเผ็ดกลางแทน) 1 ทัพพี
  8. เกลือป่น 1 ช้อนโต๊ะ
  9. พริกไทยป่นตรามือ 1 ช้อนชา

ขั้นตอนการทำ

  1. ลวกหอยแมลงภู่กับปลาหมึก แล้วหั่นเป็นชิ้นพอคำ จากนั้นให้ซับน้ำให้แห้งสนิท
  2. ผสมซอสพริกเปรู (ใช้ซอสพริกศรีราชาแทนได้) เกลือป่น และพริกไทยป่นเข้าด้วยกัน หากชอบรสจัดให้เติมน้ำตาลทราย และน้ำมะนาว เพื่อให้รสกลมกล่อม
  3. ฝานข้าวโพด หอมแดง มะเขือเทศ ผักชี ใส่ลงแล้วคลุกจนทั่ว
  4. ใส่เนื้อหอยแมลงภู่ กับปลาหมึก แล้วเคล้าให้เข้ากัน
หมายเหตุ

การรับประทานยำเปรูกับขนมปังปิ้งกรอบนี้ เป็นวัฒนธรรมอาหารที่มีชื่อเสียงของชาวเปรู

อ้างอิง

  1. ครัวลอยฟ้า. หนังสือพิมพ์คมชัดลึก. ปีที่ 10 ฉบับที่ 3564. วันอาทิตย์ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2554. หน้า 10

สารบัญ

ต้มยำแซบ ระดับการพัฒนา: 100% (ณ วันที่ 10 ก.ย. 2548) พะแนงไก่ ระดับการพัฒนา: 100% (ณ วันที่ 6 ต.ค. 2548) หมี่กรอบสูตรคุณยายเกื้อ ระดับการพัฒนา: 100% (ณ วันที่ 17 พ.ค. 2549)