ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปรัชญาโบราณ"

จาก วิกิตำรา
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
นักมวยไทย (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขโดย นักมวยไทย (Talk) ไปยังรุ่นแก้ไขล่าสุดโดย [[Use...
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
ในความคิดของนักปรัชญามี 2 ระดับคือ ปัญหาระดับสัญชาตญาณเพื่อความอยู่รอด และปัญหาระดับปัญญาเกิดจากการตรึกตรองจนเห็นคำถาม ตอบสนองด้วยคำตอบที่มาจากปัญญาเช่นกัน อาจจะมีสัญชาตญาณทำการควบคู่มาด้วย ถ้าถูกครอบงำโดยสัญชาตญาณก็จะอยู่แค่ระดับสัญชาตญาณ จึงสรุปได้ว่า ปรัชญามีมาพร้อมกับมนุษย์ตั้งแต่ยังไม่รู้จักใช้ภาษา และวิวัฒนาการเรื่อยมา ด้วยเหตุที่ชาวกรีกได้จัดทำเรื่องนี้ไว้อย่างเป็นระบบ จึงได้รับเกียรติเป็นปัญญาชนชาติแรก
แอบมองเธออยู่นะจ๊ะแต่เธอไม่รู้บ้างเลย

แอบส่งใจให้นิดนิดแต่ดูเธอช่างเฉยเมย

เอาหละเตรียมใจไว้หน่อยมันจะหัวก้อยต้องเสี่ยงกัน

Yeah Yeah Yeah

คนน่ารักก็เยอะนะที่เดินอยู่ทั่วๆไป

คนธรรมดาอย่างฉันนะเธอคงจะไม่สนใจ

เอาหละเตรียมใจไว้เถอะเราเองก็ชักเริ่มไม่แน่ใจ

Yeah Yeah Yeah

เหมือนว่าฉันนั้นเคว้งคว้างลอยไปกับเสียงเพลง

ยังคงบรรเลงไม่มีวันเลือนลาง

เพราะไม่รู้ว่าเค้านั้นในใจแอบคิดอะไร

ยังคงกังวลไม่แน่ใจในคำตอบนั้น

เพราะยังไงก็ต้องเสี่ยงรักไม่รักก็ต้องเสี่ยง

Come on Come on Come on Come on baby

ให้คุกกี้ทำนายกัน

Koisuru Fortune Cookie

มาลุ้นดูสิอาจจะเจอความหวังที่ยังรออยู่

Hey Hey Hey

เผื่อจะดีลองวัดกันดู

เสี่ยงแต่คงต้องยิ้มต้องสู้กันไป

Haato no Fortune Cookie

มาลุ้นดูสิอาจจะเจอหัวใจของเธอข้างใน

Hey Hey Hey

Hey Hey Hey

รักไม่รักจะรักไม่รักก็ลองเสี่ยงดูอีกสักนิด

ปาฏิหาริย์และดวงชะตาอาจทำให้เราไม่คาดคิด

ฉันมั่นใจว่าเราจะเป็นดั่งฝัน

ในวันแห่งความรักสักวันนึง

อยากบอกเธอว่ารักแต่กลัวเธอนั้นเฉยเมย

อยากบอกเธอให้รู้แต่ใจไม่กล้าซะเลย

เธอจะรักฉันหรือเปล่าไม่อาจเดาได้เลยสักที

Yeah Yeah Yeah

รู้ทั้งรู้ว่าเค้าใช้อะไรตัดสินใจ

ต้องน่ารักใช่มั้ยที่ใครเค้าคิดกัน

ฉันขอแค่ให้เค้าลองมองที่ข้างใน

คงจะดีถ้ามีใจให้กับฉัน

เพราะยังไงก็ต้องเสี่ยงรักไม่รักก็ต้องเสี่ยง

Please Please Please oh baby

เป็นเช่นไรก็เป็นกัน

Koisuru Fortune Cookie

มาลุ้นดูสิอาจจะเจอความหวังที่ยังรออยู่

Hey Hey Hey

เผื่อจะดีลองวัดกันดู

เสี่ยงแต่คงต้องลุ้นต้องลองกันบ้าง

Namida no Fortune Cookie

มาลุ้นดูสิจบสุดท้ายอย่างดีแค่มีน้ำตา

Hey Hey Hey

Hey Hey Hey

คิดแต่เรื่องดีดีก็โลกใบนี้เต็มไปด้วยความรัก

น้ำตาไหลออกมาก็ธรรมดาอย่าไปซีเรียสนัก

สายลมของพรุ่งนี้จะพาให้เรา

ได้เจอกับความรักซักวันนึง

Come on Come on Come on Come on baby

ให้คุ้กกี้ทำนายกัน

Koisuru Fortune Cookie

มาลุ้นดูสิอาจจะเจอความหวังที่ยังรออยู่

Hey Hey Hey

เผื่อจะดีลองวัดกันดู

เสี่ยงแต่คงต้องยิ้มต้องสู้กันไป

Haato no Fortune Cookie

มาลุ้นดูสิอาจจะเจอหัวใจของเธอข้างใน

Hey Hey Hey

Hey Hey Hey

รักไม่รักจะรักไม่รักก็ลองเสี่ยงดูอีกสักนิด

ปาฏิหาริย์และดวงชะตาอาจทำให้เราไม่คาดคิด

ฉันมั่นใจว่าเราจะเป็นดั่งฝัน

ในวันแห่งความรักสักวันนึงในความคิดของนักปรัชญามี 2 ระดับคือ ปัญหาระดับสัญชาตญาณเพื่อความอยู่รอด และปัญหาระดับปัญญาเกิดจากการตรึกตรองจนเห็นคำถาม ตอบสนองด้วยคำตอบที่มาจากปัญญาเช่นกัน อาจจะมีสัญชาตญาณทำการควบคู่มาด้วย ถ้าถูกครอบงำโดยสัญชาตญาณก็จะอยู่แค่ระดับสัญชาตญาณ จึงสรุปได้ว่า ปรัชญามีมาพร้อมกับมนุษย์ตั้งแต่ยังไม่รู้จักใช้ภาษา และวิวัฒนาการเรื่อยมา ด้วยเหตุที่ชาวกรีกได้จัดทำเรื่องนี้ไว้อย่างเป็นระบบ จึงได้รับเกียรติเป็นปัญญาชนชาติแรก


สมัยโบราณ ทุกอย่างที่เรียนเพื่อรู้ มิใช่เรียนเพื่อประกอบอาชีพ ถือว่าเป็นปรัชญาทั้งสิ้น สมัยกรีกยุคศึกษิต ปรัชญาก่อนซาคเครอทิสนั้นศึกษากันถึงเรื่องการเกิดการดับของทุกสิ่ง และพยายามจะรู้ขนาดของดวงดาว ระยะทาง วงโคจร และปรากฏการณ์ทั้งหลายในห้วงเวหา ซาคเครอทิสเป็นคนแรกที่นำปรัชญามาศึกษาเรื่องในโลก คือ ให้หันมาสนใจเรื่องจิตและจริยธรรม
สมัยโบราณ ทุกอย่างที่เรียนเพื่อรู้ มิใช่เรียนเพื่อประกอบอาชีพ ถือว่าเป็นปรัชญาทั้งสิ้น สมัยกรีกยุคศึกษิต ปรัชญาก่อนซาคเครอทิสนั้นศึกษากันถึงเรื่องการเกิดการดับของทุกสิ่ง และพยายามจะรู้ขนาดของดวงดาว ระยะทาง วงโคจร และปรากฏการณ์ทั้งหลายในห้วงเวหา ซาคเครอทิสเป็นคนแรกที่นำปรัชญามาศึกษาเรื่องในโลก คือ ให้หันมาสนใจเรื่องจิตและจริยธรรม

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:48, 9 ธันวาคม 2560

ในความคิดของนักปรัชญามี 2 ระดับคือ ปัญหาระดับสัญชาตญาณเพื่อความอยู่รอด และปัญหาระดับปัญญาเกิดจากการตรึกตรองจนเห็นคำถาม ตอบสนองด้วยคำตอบที่มาจากปัญญาเช่นกัน อาจจะมีสัญชาตญาณทำการควบคู่มาด้วย ถ้าถูกครอบงำโดยสัญชาตญาณก็จะอยู่แค่ระดับสัญชาตญาณ จึงสรุปได้ว่า ปรัชญามีมาพร้อมกับมนุษย์ตั้งแต่ยังไม่รู้จักใช้ภาษา และวิวัฒนาการเรื่อยมา ด้วยเหตุที่ชาวกรีกได้จัดทำเรื่องนี้ไว้อย่างเป็นระบบ จึงได้รับเกียรติเป็นปัญญาชนชาติแรก

สมัยโบราณ ทุกอย่างที่เรียนเพื่อรู้ มิใช่เรียนเพื่อประกอบอาชีพ ถือว่าเป็นปรัชญาทั้งสิ้น สมัยกรีกยุคศึกษิต ปรัชญาก่อนซาคเครอทิสนั้นศึกษากันถึงเรื่องการเกิดการดับของทุกสิ่ง และพยายามจะรู้ขนาดของดวงดาว ระยะทาง วงโคจร และปรากฏการณ์ทั้งหลายในห้วงเวหา ซาคเครอทิสเป็นคนแรกที่นำปรัชญามาศึกษาเรื่องในโลก คือ ให้หันมาสนใจเรื่องจิตและจริยธรรม

กระบวนทรรศน์ที่ 2 กระบวนทรรศน์โบราณ (Ancient paradigm) เริ่มนับจากปีที่ Thales เสนอความคิด ก.ค.ศ.650 จนถึง ค.ศ.529 ซึ่งจักรพรรดิ Justinian ประกาศให้ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาประจำอาณาจักรโรมันและห้ามนับถือศาสนาอื่นใดทั้งสิ้น มนุษย์น่าจะเริ่มไม่พอใจคำตอบของกระบวนทรรศน์ดึกดำบรรพ์เพราะต้องการความแน่นอนกว่าเดิม ศาสนาโบราณจึงมีกฎชัดเจนเป็นเบื้องต้น การอ้างเบื้องบนในการอธิบายต่างๆ ไม่ทำให้คนในช่วงรอยต่อนี้พอใจได้ เพราะโลกมีสิ่งที่ดำเนินไปอย่างสม่ำเสมอ มนุษย์จึงใช้ปัญญาสังเกตและพัฒนาเป็นกฎ ทำให้สร้างสรรค์สิ่งต่างๆ จำนวนมาก

จึงได้คติแห่งยุคว่า “ทุกอย่างอยู่ที่กฎ” โลกตามทรรศนะนี้ได้ชื่อว่าเอกภพ (cosmos) นักปรัชญาต่างมุ่งเร่งค้นหากฎของโลก กฎความจริง และกฎความสุข แบ่งได้เป็น 3 ยุค

  • Pre-Socratic philosophy เป็นช่วงเร่งหากฎของโลก คือ ยุคปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ก.ค.ศ.650-450)
  • Classical Greek philosophy เป็นช่วงเร่งหากฎความจริง คือ ยุคปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรือง (ก.ค.ศ.450-322)
  • Hellenistic philosophy เป็นช่วงเร่งหากฎความสุข คือ ยุคปรัชญากรีกสมัยเสื่อม (ก.ค.ศ.322- ค.ศ.529)

Pre-Socratic philosophy ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ก.ค.ศ.650- 450) ช่วงเร่งหากฎของโลก คือ อะไรคือความเป็นจริง (reality) บทบาทสำคัญอยู่ที่สำนักปรัชญาแห่ง Miletus และ สำนักปรัชญาแห่ง Elea

Thales of Miletus (ก.ค.ศ.625-547) เริ่มสอนว่า “เราจะอธิบายเหตุการณ์ทั้งหลายของเอกภพด้วยกฎของเอกภพเอง” ปัญหาสำคัญทางปรัชญา คือ เราจะรู้กฎของโลกได้อย่างไร จะรู้กฎของโลกต้องรู้ให้ได้ก่อนว่าอะไรคือวัตถุแรกของโลก ซึ่งเป็นต้นตอของสรรพสิ่ง นั่นคือ ปฐมธาตุ (First element) กฎต่างๆ ย่อมเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของปฐมธาตุไปสู่สิ่งต่างๆ

Classical Greek philosophy เป็นช่วงเร่งหากฎความจริง คือ ยุคปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรือง (ก.ค.ศ.450-322) ยุคสั้นๆ ตั้งแต่ Socrates จนถึง Aristotle และเหล่า Sophists แห่งกรุงเอเธนส์ สนใจมาตรการความจริง จึงเกิดคำถามสำคัญคือ ความจริงที่แน่นอนตายตัวมีหรือไม่ มีมาตรการสากลหรือไม่ ถ้าไม่มีทำไมจึงไม่มี ถ้ามีอยู่ที่ไหน

  • Sophists ต่างตอบว่า ไม่มี เพราะโครงสร้างสมองของมนุษย์แต่ละคนไม่เหมือนกัน
  • Socrates ตอบว่า มี อยู่ในสมองของมนุษย์ เพราะโครงสร้างสมองของมนุษย์เหมือนกัน
  • Plato ตอบว่ามี อยู่ใน world of Idea เพราะสมองของเราไม่สามารถค้ำประกันความสากลได้
  • Aristotle ตอบว่ามี อยู่ในโลกนี้ เพราะโลกแห่งมโนคติเป็นสิ่งสมมติ

Hellenistic philosophy เป็นช่วงเร่งหากฎความสุข คือ ยุคปรัชญากรีกสมัยเสื่อม (ก.ค.ศ.322-ค.ศ.529) ยุคนี้นับตั้งแต่ Aristotle เสียชีวิต จนถึงจักรพรรดิ Justinian ประกาศรับรองศาสนาคริสต์เป็นศาสนาประจำอาณาจักรโรมัน เมื่อ Alexander the great สิ้นพระชนม์ (ครองราชย์ ก.ค.ศ.336-323) ทำให้อาณาจักร Macedon แตก แม่ทัพแต่ละส่วนได้แยกปกครองตนเอง แย่งชิงอำนาจระหว่างกัน นครรัฐในกรีกรบกันเอง นักการเมืองแบ่งฝักแบ่งฝ่าย มีการลอบสังหาร และติดสินบนอย่างรุนแรง นักปรัชญาเพียงรื้อฟื้นคำสอนเพื่อชี้ถึงการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในสังคมได้ เน้นจริยศาสตร์ 6 สำนักเพื่อตอบคำถาม How to live well?


เราอาจแบ่งการค้นหาความเป็นจริงตามแนวคิดทางอภิปรัชญาที่เกิดขึ้นตามแนวคิดกระบวนทรรศน์ที่ 2 ยุคโบราณ แบ่งแนวคิดออกเป็น 3 กลุ่ม คือ จิตนิยม สสารนิยม และทวินิยม

การค้นความเป็นจริงตามแนวคิดกลุ่มจิตนิยม มีดังนี้

  • อภิปรัชญาของเพลโทว์ (Plato ก.ค.ศ.427 - 347) ถือว่าความเป็นจริงที่แท้นั้นเป็นสิ่งสากล (Universal) มีอยู่จริง ๆ โดยวัตถุวิสัย แต่ตามองไม่เห็น จึงต้องใช้ปัญญาเข้าใจส่วนรวม และเนื่องจากผัสสะแปรปรวนไปตามอารมณ์ เพลโทว์จึงแนะให้แยก ความรู้กับประสบการณ์ออกจากกัน ปรากฏการณ์ได้มาทางผัสสะ ส่วนความรู้ได้มาทางปัญญา ความเป็นจริง (Reality) มีมาก่อนปัญญาและไม่ขึ้นกับปัญญา ขณะที่ปัญญาต้องขึ้นกับความเป็นจริงนี้ เพราะถ้าปัญญารู้ไม่ตรงกับความเป็นจริง ความรู้ของปัญญาก็เท็จ เมื่อไรปัญญารู้ตรงกับความเป็นจริง จึงกล่าวได้ว่าปัญญารู้ความจริง ไม่มีใครมีสิทธิเปลี่ยนความเป็นจริงได้ อยากรู้ความจริงก็ต้องหมั่นศึกษาค้นคว้าให้เข้าถึงความเป็นจริงเท่านั้น
  • อภิปรัชญาของโพลทายเนิส (Plotinus ค.ศ.205-270) ถือว่าความเป็นจริงดั้งเดิมมีหนึ่งเดียวเรียกว่า องค์เอกะ (The one) องค์เอกะนี้มีแต่ความดี สมบูรณ์อย่างเหลือล้นแต่ด้านเดียว ไม่มีความเลวหรือความบกพร่องเจือปนอยู่เป็นการจำกัดขอบเขตเลย ความสมบูรณ์นี้จึงท่วมท้นล้นออกมานอกขอบเขตดั้งเดิม ส่วนที่ล้นออกมานี้ยิ่งออกห่างจากศูนย์กลางหรือขอบเขตความสมบูรณ์ดั้งเดิมมากเท่าไร ความสมบูรณ์ก็ยิ่งเจือจางมากขึ้นทุกที แต่แรกเริ่มมีเพียง องค์เอกะ แต่ผู้เดียว ความเป็นจริงแต่สิ่งเดียว มีความเป็นอยู่เองแต่นิรันดร พระปัญญาหรือพระวจนะมีความสมบูรณ์เหลือล้นจึงต้องล้นออกด้วยความจำเป็นต่อมาเกิดพระวิญญาณใหญ่ ซึ่งเป็นจิตหรือดวงวิญญาณของโลก เนื่องจากวิญญาณของโลกออกห่างจากความสมบูรณ์มากขึ้นเรื่อยๆ ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ซึ่งเป็นความบกพร่องประการหนึ่ง บันดาลให้สะเก็ดวิญญาณโลกบางส่วนถลำเข้าคลุกเคล้ากับสสาร กลายเป็นคนขึ้นมาแต่ละคน คนเราแต่ละคนจึงมีส่วนของจิตสูงส่งซึ่งเนื่องจากพระเจ้า ส่วนร่างกายมาจากสสารซึ่งเป็นของเฉื่อยหนักไร้อุดมคติ ชีวิตจึงเป็นการต่อสู้ดิ้นรนระหว่างธาตุพระเจ้ากับธาตุวัตถุ

การค้นหาความเป็นจริง ตามแนวทางของกลุ่มสสารนิยม มีดังนี้

  • อภิปรัชญาของเธลิส (Thales ก.ค.ศ. 625-547) ถือเป็นบิดาของปรัชญาตะวันตก เสนออภิปรัชญาด้วยภาษาที่มีความหมายตรง โดยเสนอไว้ว่า สิ่งที่เป็นจริงทั้งหลายทั่วเอกภพมีต้นกำเนิดจากน้ำ และความเป็นจริงแท้คือน้ำ ปรากฏการณ์อย่างอื่นนอกเหนือไปจากน้ำเป็นภาวะชั่วคราว เพราะทุกอย่างมาจากน้ำในที่สุดก็ต้องคืนสู่สภาพน้ำ ดังนั้น น้ำจึงเป็นภาวะแท้ (ปฐมธาตุ) ของทุกสิ่ง และเป็นความเป็นจริงอันติมะของสรรพสิ่ง เทพเทวีทั้งหลายแม้นมีจริงก็ย่อมถือกำเนิดจากน้ำ ดังที่คัมภีร์โบราณทั้งหลายระบุไว้
  • อภิปรัชญาของอแนกเสอแมนเดอร์และเอินแนกซีเมอนิส: อแนกเสอแมนเดอร์ (Anaximander ก.ค.ศ.610-545) ได้แย้งเธลิสว่าน้ำไม่น่าจะเป็นความเป็นจริงอันติมะ เพราะน้ำเป็นของสำเร็จรูปใช้การได้แล้ว ความเป็นจริงอันติมะน่าจะต้องเป็นอะไรเบื้องต้นกว่านั้น ที่พร้อมจะใช้เป็นวัตถุดิบทำอะไรได้ทุกอย่าง สิ่งนั้นไม่มีชื่อเรียก แต่เนื่องจากมีเต็มช่องว่างที่เวิ้งว้างไร้ขอบเขตของท้องฟ้า จึงน่าจะเรียกว่าสารอนันตภาพ (The Infinity) หรือสารไร้รูป (formless material) เอินแนกซีเมอนิส (Anaximenes ก.ค.ศ.588-524) เสนอว่าความเป็นจริงอันติมะนั้นเรียกว่า อนันตภาพก็ยังไม่เข้าท่าอยู่ดี เพราะอาจจะเป็นความว่างเปล่าไม่มีอะไรเลยก็เป็นอนันต์ได้ แต่ก็ไม่ใช่ความเป็นจริง จึงเสนอว่าควรเรียกว่าอายเธอร์ (Aither) อายเธอร์จึงเป็นความเป็นจริงอันติมะที่ฟุ้งกระจายอย่างเจือจางที่สุดในห้วงเทศะ (space) เมื่อรวมตัวกันแน่นหนาขึ้นก็จะกลายเป็นสิ่งนั้นสิ่งนี้ตามระวางความหนาแน่นของแต่ละสิ่ง ทุกสิ่งเกิดจากอายเธอร์และจะคืนสภาพสู่อายเธอร์เป็นวัฏจักรหมุนเวียนอย่างไม่รู้จบสิ้นของธรรมชาติ
  • อภิปรัชญาของแอร์เริสทาทเทิล (Aristotle ก.ค.ศ.384-322) กำหนดหลักการแม่แบบของตนว่า เนื้อหาความรู้พื้นฐานที่สุดคือภวันต์ (entity) อันเป็นความรู้ที่เป็นนามธรรมที่สุด จึงเป็นพื้นฐาน เป็นหลักการแม่แบบที่สุด เป็นความเป็นจริงอันติมะที่สุด เป็นปฐมธาตุที่ลึกลงไปยิ่งกว่าปฐมธาตุของเธลิสและลูกศิษย์ ลึกยิ่งกว่าปรมาณูของเดอมาคเครอเทิส ลึกยิ่งกว่าแม่แบบในโลกแห่งมโนคติของเพลโทว์ เพราะความเป็นจริงทั้งหลายที่เคยมีกล่าวถึงกันมาแล้วทั้งหมด ที่สุดก็หยั่งลงไปได้ว่าล้วนแต่เป็นภวันต์ทั้งสิ้น
  • อภิปรัชญาของเดอมาคเครอเทิส (Democritus ศตวรรษที่ 5 ก.ค.ศ.) สอนว่าสิ่งต่าง ๆ ประกอบด้วยอะตอม ความเป็นจริงทั้งหลายมีอยู่ 3 อย่าง คือ อะตอม ช่องว่าง และการเคลื่อน ช่องว่าง แม้ไม่มีอะไรเลยก็เป็นอะไรสักอย่างที่ต้องมีอยู่จริง มิฉะนั้นอะตอมจะเคลื่อนไหวไม่ได้ เพราะอะตอมต้องเคลื่อนที่ไปในช่องว่าง ถ้ายอมรับว่าอะตอมเคลื่อนที่ได้ก็ต้องยอมรับว่ามีช่องว่างอยู่จริง การเกิดคือการรวมตัวของอะตอม การตาย คือการแยกตัวของอะตอม ไม่มีอะไรใหม่ ไม่มีอะไรสูญหาย ทุก ๆ อย่างเกิดขึ้นตามกฎเกณฑ์กลศาสตร์ คือ สสารเคลื่อนไปในช่องว่างด้วยพลัง นอกนั้นเป็นสิ่งที่เราบัญญัติกันขึ้นมาเองเพื่อความสะดวกในการพูดจา
  • อภิปรัชญาของเพอแทกเกอเริส (Pythagoras ก.ค.ศ.580-500) เสนอความคิดว่า ความเป็นจริงอันติมะคือ กฎคณิตศาสตร์ที่สามารถแถลงออกมาเป็นตัวเลข ทุกสิ่งในจักรวาลเป็นไปตามกฎคณิตศาตร์ ไม่มีข้อยกเว้นหรือผ่อนผันใดๆ การจะรู้กฎเกณฑ์ก็ต้องฝึกฝนตนและเล่าเรียน

การค้นหาความเป็นจริง ตามแนวทางของกลุ่มทวินิยม จะนำแนวคิดของกลุ่มจิตนิยมและสสารนิยมมาคัดสรรเพื่อตอบปัญหาต่างๆ โดยเชื่อว่าสรรพสิ่งมีทั้งความเป็นจิตและสสาร

อ้างอิง

  1. กีรติ บุญเจือ. (2546) “เริ่มรู้จักปรัชญา” ในชุด ปรัชญาและศาสนาเซนต์จอห์น, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น.
  2. เอนก สุวรรณบัณฑิต. (2558). เอกสารประกอบการสอนวิชาปรัชญาศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.