ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทคนิคการนำเสนอพาวเวอร์พอยต์/กราฟแบบต่างๆ"

จาก วิกิตำรา
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Geonuch ย้ายหน้า เทคนิคการนำเสนอ Power Point/กราฟแบบต่างๆ ไปยัง เทคนิคการนำเสนอพาวเวอร์พอยต์/กราฟแบบต่างๆ โดยไม่สร้างหน้าเปลี่ยนทางตามมา
 
บรรทัดที่ 49: บรรทัดที่ 49:
* [[เทคนิคการนำเสนอ Power Point/Graphical Excellence|Graphical Excellence]]
* [[เทคนิคการนำเสนอ Power Point/Graphical Excellence|Graphical Excellence]]
* [[เทคนิคการนำเสนอ Power Point/ข้อควรคำนึงในการนำเสนอ|ข้อควรคำนึงในการนำเสนอ]]
* [[เทคนิคการนำเสนอ Power Point/ข้อควรคำนึงในการนำเสนอ|ข้อควรคำนึงในการนำเสนอ]]

[[หมวดหมู่:ตำรา:เทคนิคการนำเสนอพาวเวอร์พอยต์|กราฟแบบต่างๆ]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 12:32, 17 ตุลาคม 2562

Tabulating and Graphing Categorical Data[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • Univariate data:
  • Tabulate using a summary table.
  • Graph using a bar chart or a pie chart
  • Bivariate Data:
  • Tabulate using a contingency table.
  • Graph using a compound bar chart.

Summary Table[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

1.    Lists Categories & Number of Elements

2.    Count by Tallying

3.    Show Frequencies (Counts) or Percentages

กราฟวงกลม[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ลักษณะ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • เน้นที่ส่วนแบ่งของแต่ละชิ้น
  • มักไม่เน้นที่ปริมาณ
  • มักแสดงเป็นเปอร์เซนต์

คำแนะนำ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • หลีกเลี่ยงกราฟสามมิติ
  • เรียงจากมากมาน้อย
  • ถ้าไม่มีสีควรใส่ ลวดลาย
  • ไม่ควรมีจำนวนชิ้นมากเกินไป

กราฟเรดาร์[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ลักษณะ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • เพื่อแสดงความสมดุลย์ของตัวแปรต่างๆ ในทิศทางต่างๆ

คำแนะนำ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • จำนวนตัวแปรทั้ง (หลักและรอง) ควรจะต้องจำกัด

กราฟพื้นที่ผิวสามมิติ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ลักษณะ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • ใช้กับสามตัวแปร
  • ใช้แสดงการความสัมพันธ์ในทุกกรณี

คำแนะนำ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

การแสดงผลมีโอกาสที่จะบังกัน

สารบัญ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]