ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิตำรา:สภากาแฟ/กรุ/2566"

จาก วิกิตำรา
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MediaWiki message delivery (คุย | ส่วนร่วม)
→‎Suggested Values: ส่วนใหม่
ป้ายระบุ: MassMessage delivery
Firesflys (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
บรรทัดที่ 389: บรรทัดที่ 389:
</div> [[m:User:Timur Vorkul (WMDE)|Timur Vorkul (WMDE)]] 21:08, 22 เมษายน 2564 (+07)
</div> [[m:User:Timur Vorkul (WMDE)|Timur Vorkul (WMDE)]] 21:08, 22 เมษายน 2564 (+07)
<!-- Message sent by User:Timur Vorkul (WMDE)@metawiki using the list at https://meta.wikimedia.org/w/index.php?title=WMDE_Technical_Wishes/Technical_Wishes_News_list_all_village_pumps&oldid=21361904 -->
<!-- Message sent by User:Timur Vorkul (WMDE)@metawiki using the list at https://meta.wikimedia.org/w/index.php?title=WMDE_Technical_Wishes/Technical_Wishes_News_list_all_village_pumps&oldid=21361904 -->

== การสะกดชื่อ: Luo Yunxi (罗云熙) ==

วัตถุประสงค์ในการอภิปรายในครั้งนี้สืบเนื่องมาจากมีผู้เห็นขัดแย้งกันในการสะกดชื่อของ Luo Yunxi (罗云熙) นักร้อง, นักแสดงชาวจีน<br>
ว่าจะให้เป็น "หลัว หยุนซี" หรือ "หลัว ยฺหวินซี" ในกรณีที่มีผู้เห็นต่างเป็นอย่างอื่นอีกขอเชิญเขียนอภิปรายเพิ่มเติมในลำดับถัดไป<br>
*เนื่องจากยังไม่มีการตัดสินจึงขอใช้ชื่อในภาษาอังกฤษ Luo Yunxi เรียกเพื่อความเป็นกลาง<br>
เนื่องด้วยดิฉันได้จัดทำประวัติของ Luo Yunxi มาตั้งแต่ปี 2561 และได้ติดตามผลงานมาโดยตลอด<br>
ดิฉันขอให้เหตุผลที่เริ่มต้นใช้ชื่อในการสะกดเป็นภาษาไทยว่า "หลัว หยุนซี" ดังต่อไปนี้<br><br>
เกริ่นนำ<br>
ในภาษาจีนซึ่งเป็นภาษาต่างประเทศมีการสะกดคำมาเป็นภาษาไทยด้วยการเลียนเสียงทำให้เกิดรูปแบบการเขียนที่แตกต่างกันไป<br>
โดยหลักแล้วการสะกดคำว่า 云 ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในประเทศไทยมีอยู่สามแบบ คือ 1.หยุน 2.อวิ๋น 3.ยฺหวิน<br>
ถึงแม้คำว่า ยฺหวิน จะได้รับการประกาศใช้ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีฯ แต่ หยุน และ อวิ๋น ก็เป็นคำที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในสังคมปัจจุบันเช่นเดียวกัน<br>
อ้างอิงจาก > การทับศัพท์ภาษาจีน
<ref>https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B8%97%E0%B9%8C%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B8%99</ref><br><br>
เหตุผลที่เลือกใช้ "หลัว หยุนซี"<br>
➤1.ตามการถอดเสียงที่ได้ยินเจ้าของชื่อเรียกตัวเองอยู่เสมอ<br>
ตัวอย่างคลิป<br>
◆https://weibo.com/tv/show/1034:4635382307029018?from=old_pc_videoshow<br>
◆https://weibo.com/tv/show/1034:4635370038689867?from=old_pc_videoshow<br><br>
➤2.การดูจาก hashtag โซเชียลเน็ตเวิร์คที่เป็นแหล่งข่าวสารของโลกในยุคปัจจุบัน<br>
อ้างอิงจากผลการค้นหาในโซเชียลเน็ตเวิร์คต่าง ๆ ณ วันที่ 11 พ.ค. 2564<br><br>
◆อ้างอิงจากการค้นหา hashtag บน Facebook<br>
หลัวหยุนซี <ref>https://www.facebook.com/hashtag/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AB%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%8B%E0%B8%B5</ref> > มี 1.4 พัน คนกำลังโพสต์เกี่ยวกับแฮชแท็กนี้<br>
หลัวอวิ๋นซี <ref>https://www.facebook.com/hashtag/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B9%8B%E0%B8%99%E0%B8%8B%E0%B8%B5</ref><br>
หลัวยฺหวินซี > ไม่สามารถค้นหาได้เนื่องจากไม่มีเลยแม้แต่ hashtag เดียว<br><br>
◆อ้างอิงจากการค้นหา hashtag บน IG<br>
หลัวหยุนซี <ref>https://www.instagram.com/explore/tags/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AB%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%8B%E0%B8%B5/</ref> > 5,972 โพสต์<br>
หลัวอวิ๋นซี <ref>www.instagram.com</ref> > 5,068 โพสต์<br>
หลัวยฺหวินซี ไม่สามารถค้นหาได้เนื่องจากไม่มีเลยแม้แต่ hashtag เดียว<br><br>
◆การค้นหา hashtag บน twitter ไม่สามารถนำตัวเลขมาแสดงได้<br>
เนื่องจากไม่ใช่แอคเคาท์เสียเงินและไม่สามารถติด ref ของทวิตเตอร์ได้เนื่องจาก wiki ไม่อนุญาต
แต่ท่านสามารถนำ hashtag ด้านล่างไปค้นหาได้ด้วยตัวเอง<br>
หลัวหยุนซี / หลัวอวิ๋นซี <br>
หลัวยฺหวินซี > ไม่สามารถค้นหาได้เนื่องจากไม่มีเลยแม้แต่ hashtag เดียว<br><br>
จากผลการค้นหาในข้อนี้ทำให้สรุปได้ว่าคำที่นิยมและเป็นที่ยอมรับใช้กันอยู่ในสังคมไทยปัจจุบันคือ "หยุน" และ "อวิ๋น" แต่<br>
➤3.การเรียกด้วยชื่อที่ใกล้เคียงสิ่งที่ได้ยินนั้นและง่ายต่อการจดจำ, ง่ายต่อการออกเสียง และง่ายต่อการเขียนนั้นสามารถสร้างความประทับใจให้ผู้คนได้มากกว่าจึงเป็นอีกหนึ่งเหตุผลที่ดิฉันเลือกใช้ "หลัว หยุนซี" <br><br>
หลังจากนี้คือเหตุผลที่ไม่เลือกใช้การสะกดว่า "ยฺหวิน" ค่ะ<br>
➤1.ถึงแม้คำว่า "ยฺหวิน" จะถูกบัญญัติวิธีการสะกดด้วยข้อกำหนดของราชบัณฑิตยสถาน แต่ไม่เป็นที่นิยมและไม่ได้รับการยอมรับจากคนในสังคมไทยในปัจจุบัน<br>
เนื่องจาก<br>
# การเขียนตัวสะกดที่ยากทำให้บุคคลทั่วไปไม่สามารถพิมพ์ได้หรือพิมพ์ได้ยากมากทั้งบนมือถือและในคอมพิวเตอร์<br>
# บุคคลทั่วไปที่ไม่เคยเรียน ไม่เคยฟังคำอธิบาย หรืออ่านข้อกำหนดของราชบัณฑิตยสถานไม่สามารถอ่านออกเสียงคำ ๆ นี้ได้<br>

➤2.ภาษาเป็นสิ่งที่ดิ้นได้แม้จะมีกฎเกณฑ์กำหนดขึ้นมาให้ใช้งานแต่ถ้าไม่ได้รับการยอมรับในสังคมคำ ๆ นั้นก็จะเป็นคำที่ตายไปในที่สุด<br>
การจะใช้คำว่า "ยฺหวิน" ในวิกิพีเดียที่เป็นสารานุกรมแต่กลับไม่มีชื่อบุคคลนี้จริงที่มีตัวตนอยู่บนโลกออนไลน์<br>
เพราะไม่มีใครเคยพูดถึงคนที่ชื่อว่า "หลัว ยฺหวินซี" นอกจากใน Wiki แล้วมันไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวมแต่ประการใด<br><br>
➤3.การสะกดคำจากภาษาต่างประเทศไม่มีถูกผิดร้อยเปอร์เซ็นต์ เนื่องจากเป็นคำเลียนเสียงจากภาษาอื่นให้ได้ใกล้เคียงที่สุด<br>
แต่มีผู้บัญญัติหลักการไว้เพื่อให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และในหลักบัญญัตินั้นถ้าหากไม่ได้เป็นที่ยอมรับในคนหมู่มาก ก็มีข้อยกเว้นที่เกิดขึ้นได้เช่นเดียวกัน<br>
ยกตัวอย่างเช่น<br>
มณฑลยูนนาน หรือ หยุนหนาน เขียนชื่อตาม "ประกาศราชบัณฑิตยสถาน เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง (พ.ศ. 2544)"<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2544/E/117/2.PDF</ref>
<ref>https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%93%E0%B8%91%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99yun'n</ref> <br>
คำว่า 云 ของ 云南 หรือ 罗云熙 มาจากอักษร 云 ตัวเดียวกัน และทางราชบัณฑิตยสถานเองได้ยอมรับการเขียนเช่นและมีการประกาศใช้เป็นทางการ<br>
นั่นเนื่องจากว่าคำว่ามณฑลยูนนาน หรือ หยุนหนาน ถูกใช้มาอย่างต่อเนื่องยาวนานจนฝังรากลึกลงไปในความทรงจำของคนในสังคมจนยากที่จะเปลี่ยนแปลงในภายหลัง เช่นเดียวกับ "หลัว หยุนซี"
ซึ่งคำที่ง่ายต่อการใช้งาน (พิมพ์หรืออ่าน) จึงมีการใช้กันอย่างแพร่หลายในสังคมยุคปัจจุบัน<br><br>

ข้อสรุป
ดิฉันจึงเห็นว่าการใช้ตัวสะกดว่า "หลัว หยุนซี" ที่มีผู้ใช้งานอย่างแพร่หลายในสังคมนั้นสามารถนำไปใช้งานได้จริง ทำให้มีความเหมาะสมกว่าคำว่า "หลัว ยฺหวินซี" ที่ไม่มีผู้ใช้เลยแม้แต่คนเดียวค่ะ (อ้างอิงจาก hashtag ในโซเชียลมีเดีย)
[[ผู้ใช้:Firesflys|Firesflys]] ([[คุยกับผู้ใช้:Firesflys|คุย]]) 00:11, 12 พฤษภาคม 2564 (+07)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:11, 12 พฤษภาคม 2564

วิกิตำรา:สภากาแฟ/กรุ/2566/ส่วนหัว

การอภิปราย กรกฎาคม 2563 — ปัจจุบัน

Editing news 2020 #3

19:56, 9 กรกฎาคม 2563 (+07)

Announcing a new wiki project! Welcome, Abstract Wikipedia

Sent by m:User:Elitre (WMF) 02:56, 10 กรกฎาคม 2563 (+07) - m:Special:MyLanguage/Abstract Wikipedia/July 2020 announcement [ตอบกลับ]

Technical Wishes: FileExporter and FileImporter become default features on all Wikis

Max Klemm (WMDE) 16:14, 6 สิงหาคม 2563 (+07)[ตอบกลับ]

Important: maintenance operation on September 1st

Trizek (WMF) (talk) 20:48, 26 สิงหาคม 2563 (+07)[ตอบกลับ]

Invitation to participate in the conversation

Wiki of functions naming contest

04:26, 30 กันยายน 2563 (+07)

Call for feedback about Wikimedia Foundation Bylaws changes and Board candidate rubric

สวัสดี. Apologies if you are not reading this message in your native language. โปรดช่วยแปลเป็นภาษาไทย.

Today the Wikimedia Foundation Board of Trustees starts two calls for feedback. One is about changes to the Bylaws mainly to increase the Board size from 10 to 16 members. The other one is about a trustee candidate rubric to introduce new, more effective ways to evaluate new Board candidates. The Board welcomes your comments through 26 October. For more details, check the full announcement.

ขอขอบคุณ! Qgil-WMF (talk) 00:09, 8 ตุลาคม 2563 (+07)[ตอบกลับ]

ขอความเห็นเกี่ยวกับ Discord สำหรับชุมชนวิกิมีเดียภาษาไทย

ดูรายละเอียดที่ w:วิกิพีเดีย:สภากาแฟ/อภิปราย/ขอความเห็นเกี่ยวกับ Discord สำหรับชุมชนวิกิมีเดียภาษาไทย --Geonuch (คุย) 20:24, 17 ตุลาคม 2563 (+07)[ตอบกลับ]

Important: maintenance operation on October 27

-- Trizek (WMF) (talk) 00:10, 22 ตุลาคม 2563 (+07)[ตอบกลับ]

Wiki of functions naming contest - Round 2

05:10, 6 พฤศจิกายน 2563 (+07)

Update to ICU Unicode library

Trizek (WMF) 21:53, 16 พฤศจิกายน 2563 (+07)[ตอบกลับ]

SGrabarczuk (WMF)

01:11, 21 พฤศจิกายน 2563 (+07)

Global bot policy proposal: invitation to a Meta discussion

Wikidata descriptions changes to be included more often in Recent Changes and Watchlist

2020 Coolest Tool Award Ceremony on December 11th

SGrabarczuk (WMF)

22:58, 11 ธันวาคม 2563 (+07)

Moving Wikimania 2021 to a Virtual Event

Wikimania's logo.

สวัสดี. Apologies if you are not reading this message in your native language. โปรดช่วยแปลเป็นภาษาไทย. ขอขอบคุณ!

Wikimania will be a virtual event this year, and hosted by a wide group of community members. Whenever the next in-person large gathering is possible again, the ESEAP Core Organizing Team will be in charge of it. Stay tuned for more information about how you can get involved in the planning process and other aspects of the event. Please read the longer version of this announcement on wikimedia-l.

ESEAP Core Organizing Team, Wikimania Steering Committee, Wikimedia Foundation Events Team, 22:15, 27 มกราคม 2564 (+07)

Project Grant Open Call

This is the announcement for the Project Grants program open call that started on January 11, with the submission deadline of February 10, 2021.
This first open call will be focussed on Community Organizing proposals. A second open call focused on research and software proposals is scheduled from February 15 with a submission deadline of March 16, 2021.

For the Round 1 open call, we invite you to propose grant applications that fall under community development and organizing (offline and online) categories. Project Grant funds are available to support individuals, groups, and organizations to implement new experiments and proven ideas, from organizing a better process on your wiki, coordinating a campaign or editathon series to providing other support for community building. We offer the following resources to help you plan your project and complete a grant proposal:

Program officers are also available to offer individualized proposal support upon request. Contact us if you would like feedback or more information.

We are excited to see your grant ideas that will support our community and make an impact on the future of Wikimedia projects. Put your idea into motion, and submit your proposal by February 10, 2021!

Please feel free to get in touch with questions about getting started with your grant application, or about serving on the Project Grants Committee. Contact us at projectgrantsแม่แบบ:Atwikimedia.org. Please help us translate this message to your local language. MediaWiki message delivery (คุย) 15:00, 28 มกราคม 2564 (+07)[ตอบกลับ]

Wiki Loves Folklore 2021 is back!

โปรดช่วยแปลเป็นภาษาไทย

You are humbly invited to participate in the Wiki Loves Folklore 2021 an international photography contest organized on Wikimedia Commons to document folklore and intangible cultural heritage from different regions, including, folk creative activities and many more. It is held every year from the 1st till the 28th of February.

You can help in enriching the folklore documentation on Commons from your region by taking photos, audios, videos, and submitting them in this commons contest.

Please support us in translating the project page and a banner message to help us spread the word in your native language.

Kind regards,

Wiki loves Folklore International Team

MediaWiki message delivery (คุย) 20:25, 6 กุมภาพันธ์ 2564 (+07)[ตอบกลับ]

Wikifunctions logo contest

08:45, 2 มีนาคม 2564 (+07)

จรรณยาบรรณสากลระยะที่ 2

จรรณยาบรรณสากล (UCoC) เป็นบรรทัดฐานของพฤติกรรมซึ่งยอมรับได้สำหรับทั้งขบวนการวิกิมีเดียและโครงการที่เกี่ยวข้อง โครงการยังอยู่ในระยะที่ 2 โดยการสรุปแนวทางการบังคับใช้ที่ชัดเจน คุณสามารถอ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับทั้งโครงการได้ที่หน้าโครงการ

การรับสมัครคณะกรรมการร่าง

มูลนิธิวิกิมีเดียกำลังมองหาอาสาสมัครเพื่อร่างวิธีการบังคับใช้ อาสาสมัครที่อยู่ในคณะจะใช้เวลาร่วมกันราว 2 ถึง 6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์นับตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนถึงกรกฎาคม และอีกครั้งในช่วงเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน ซึ่งคณะจำเป็นต้องมีความหลากหลายและครอบคลุม และมีช่วงประสบการณ์ที่กว้างขวาง คือมีทั้งผู้ใช้มีประสบการณ์และผู้ใช้ใหม่ ทั้งผู้เคยได้รับและผู้ตอบกลับกับการล่วงละเมิด และผู้ที่ถูกกล่าวหาว่าล่วงละเมิดอย่างไม่ถูกต้องด้วย

ส่งใบสมัครและเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับกระบวนการได้ที่จรรณยาบรรณสากล/คณะกรรมการร่าง

การขอคำปรึกษาชุมชน 2021: ประกาศและขอความร่วมมือจากอาสาสมัคร/ผู้แปลภาษา

ในวันที่ 5 เมษายน ถึง 5 พฤษภาคม 2021 จะมีการอภิปรายในหลายโครงการของวิกิมีเดียในเรื่องการบังคับใช้จรรณยาบรรณสากล เรากำลังมองหาอาสาสมัครเพื่อแปลเอกสารแนวทาง รวมไปถึงการจัดการขอความเห็นในภาษาของตนหรือในโครงการโดยการใช้แนวทางคำถามที่แนะนำ หากคุณสนใจเป็นอาสาสมัครเพื่อปฏิบัติหน้าที่ในบทบาทเหล่านี้ โปรดติดต่อเราในภาษาใดก็ได้ที่คุณสะดวก

เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับงานนี้และสถานที่อภิปรายอื่น ดูที่จรรณยาบรรณสากล/การขอคำปรึกษา 2021

-- Xeno (WMF) (พูดคุย) 04:29, 6 เมษายน 2564 (+07)[ตอบกลับ]

Global bot policy changes

Line numbering coming soon to all wikis

-- Johanna Strodt (WMDE) 22:09, 12 เมษายน 2564 (+07)[ตอบกลับ]

Suggested Values

Timur Vorkul (WMDE) 21:08, 22 เมษายน 2564 (+07)[ตอบกลับ]

การสะกดชื่อ: Luo Yunxi (罗云熙)

วัตถุประสงค์ในการอภิปรายในครั้งนี้สืบเนื่องมาจากมีผู้เห็นขัดแย้งกันในการสะกดชื่อของ Luo Yunxi (罗云熙) นักร้อง, นักแสดงชาวจีน
ว่าจะให้เป็น "หลัว หยุนซี" หรือ "หลัว ยฺหวินซี" ในกรณีที่มีผู้เห็นต่างเป็นอย่างอื่นอีกขอเชิญเขียนอภิปรายเพิ่มเติมในลำดับถัดไป

  • เนื่องจากยังไม่มีการตัดสินจึงขอใช้ชื่อในภาษาอังกฤษ Luo Yunxi เรียกเพื่อความเป็นกลาง

เนื่องด้วยดิฉันได้จัดทำประวัติของ Luo Yunxi มาตั้งแต่ปี 2561 และได้ติดตามผลงานมาโดยตลอด
ดิฉันขอให้เหตุผลที่เริ่มต้นใช้ชื่อในการสะกดเป็นภาษาไทยว่า "หลัว หยุนซี" ดังต่อไปนี้

เกริ่นนำ
ในภาษาจีนซึ่งเป็นภาษาต่างประเทศมีการสะกดคำมาเป็นภาษาไทยด้วยการเลียนเสียงทำให้เกิดรูปแบบการเขียนที่แตกต่างกันไป
โดยหลักแล้วการสะกดคำว่า 云 ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในประเทศไทยมีอยู่สามแบบ คือ 1.หยุน 2.อวิ๋น 3.ยฺหวิน
ถึงแม้คำว่า ยฺหวิน จะได้รับการประกาศใช้ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีฯ แต่ หยุน และ อวิ๋น ก็เป็นคำที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในสังคมปัจจุบันเช่นเดียวกัน
อ้างอิงจาก > การทับศัพท์ภาษาจีน [1]

เหตุผลที่เลือกใช้ "หลัว หยุนซี"
➤1.ตามการถอดเสียงที่ได้ยินเจ้าของชื่อเรียกตัวเองอยู่เสมอ
ตัวอย่างคลิป
https://weibo.com/tv/show/1034:4635382307029018?from=old_pc_videoshow
https://weibo.com/tv/show/1034:4635370038689867?from=old_pc_videoshow

➤2.การดูจาก hashtag โซเชียลเน็ตเวิร์คที่เป็นแหล่งข่าวสารของโลกในยุคปัจจุบัน
อ้างอิงจากผลการค้นหาในโซเชียลเน็ตเวิร์คต่าง ๆ ณ วันที่ 11 พ.ค. 2564

◆อ้างอิงจากการค้นหา hashtag บน Facebook
หลัวหยุนซี [2] > มี 1.4 พัน คนกำลังโพสต์เกี่ยวกับแฮชแท็กนี้
หลัวอวิ๋นซี [3]
หลัวยฺหวินซี > ไม่สามารถค้นหาได้เนื่องจากไม่มีเลยแม้แต่ hashtag เดียว

◆อ้างอิงจากการค้นหา hashtag บน IG
หลัวหยุนซี [4] > 5,972 โพสต์
หลัวอวิ๋นซี [5] > 5,068 โพสต์
หลัวยฺหวินซี ไม่สามารถค้นหาได้เนื่องจากไม่มีเลยแม้แต่ hashtag เดียว

◆การค้นหา hashtag บน twitter ไม่สามารถนำตัวเลขมาแสดงได้
เนื่องจากไม่ใช่แอคเคาท์เสียเงินและไม่สามารถติด ref ของทวิตเตอร์ได้เนื่องจาก wiki ไม่อนุญาต แต่ท่านสามารถนำ hashtag ด้านล่างไปค้นหาได้ด้วยตัวเอง
หลัวหยุนซี / หลัวอวิ๋นซี
หลัวยฺหวินซี > ไม่สามารถค้นหาได้เนื่องจากไม่มีเลยแม้แต่ hashtag เดียว

จากผลการค้นหาในข้อนี้ทำให้สรุปได้ว่าคำที่นิยมและเป็นที่ยอมรับใช้กันอยู่ในสังคมไทยปัจจุบันคือ "หยุน" และ "อวิ๋น" แต่
➤3.การเรียกด้วยชื่อที่ใกล้เคียงสิ่งที่ได้ยินนั้นและง่ายต่อการจดจำ, ง่ายต่อการออกเสียง และง่ายต่อการเขียนนั้นสามารถสร้างความประทับใจให้ผู้คนได้มากกว่าจึงเป็นอีกหนึ่งเหตุผลที่ดิฉันเลือกใช้ "หลัว หยุนซี"

หลังจากนี้คือเหตุผลที่ไม่เลือกใช้การสะกดว่า "ยฺหวิน" ค่ะ
➤1.ถึงแม้คำว่า "ยฺหวิน" จะถูกบัญญัติวิธีการสะกดด้วยข้อกำหนดของราชบัณฑิตยสถาน แต่ไม่เป็นที่นิยมและไม่ได้รับการยอมรับจากคนในสังคมไทยในปัจจุบัน
เนื่องจาก

  1. การเขียนตัวสะกดที่ยากทำให้บุคคลทั่วไปไม่สามารถพิมพ์ได้หรือพิมพ์ได้ยากมากทั้งบนมือถือและในคอมพิวเตอร์
  2. บุคคลทั่วไปที่ไม่เคยเรียน ไม่เคยฟังคำอธิบาย หรืออ่านข้อกำหนดของราชบัณฑิตยสถานไม่สามารถอ่านออกเสียงคำ ๆ นี้ได้

➤2.ภาษาเป็นสิ่งที่ดิ้นได้แม้จะมีกฎเกณฑ์กำหนดขึ้นมาให้ใช้งานแต่ถ้าไม่ได้รับการยอมรับในสังคมคำ ๆ นั้นก็จะเป็นคำที่ตายไปในที่สุด
การจะใช้คำว่า "ยฺหวิน" ในวิกิพีเดียที่เป็นสารานุกรมแต่กลับไม่มีชื่อบุคคลนี้จริงที่มีตัวตนอยู่บนโลกออนไลน์
เพราะไม่มีใครเคยพูดถึงคนที่ชื่อว่า "หลัว ยฺหวินซี" นอกจากใน Wiki แล้วมันไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวมแต่ประการใด

➤3.การสะกดคำจากภาษาต่างประเทศไม่มีถูกผิดร้อยเปอร์เซ็นต์ เนื่องจากเป็นคำเลียนเสียงจากภาษาอื่นให้ได้ใกล้เคียงที่สุด
แต่มีผู้บัญญัติหลักการไว้เพื่อให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และในหลักบัญญัตินั้นถ้าหากไม่ได้เป็นที่ยอมรับในคนหมู่มาก ก็มีข้อยกเว้นที่เกิดขึ้นได้เช่นเดียวกัน
ยกตัวอย่างเช่น
มณฑลยูนนาน หรือ หยุนหนาน เขียนชื่อตาม "ประกาศราชบัณฑิตยสถาน เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง (พ.ศ. 2544)"[6] [7]
คำว่า 云 ของ 云南 หรือ 罗云熙 มาจากอักษร 云 ตัวเดียวกัน และทางราชบัณฑิตยสถานเองได้ยอมรับการเขียนเช่นและมีการประกาศใช้เป็นทางการ
นั่นเนื่องจากว่าคำว่ามณฑลยูนนาน หรือ หยุนหนาน ถูกใช้มาอย่างต่อเนื่องยาวนานจนฝังรากลึกลงไปในความทรงจำของคนในสังคมจนยากที่จะเปลี่ยนแปลงในภายหลัง เช่นเดียวกับ "หลัว หยุนซี" ซึ่งคำที่ง่ายต่อการใช้งาน (พิมพ์หรืออ่าน) จึงมีการใช้กันอย่างแพร่หลายในสังคมยุคปัจจุบัน

ข้อสรุป ดิฉันจึงเห็นว่าการใช้ตัวสะกดว่า "หลัว หยุนซี" ที่มีผู้ใช้งานอย่างแพร่หลายในสังคมนั้นสามารถนำไปใช้งานได้จริง ทำให้มีความเหมาะสมกว่าคำว่า "หลัว ยฺหวินซี" ที่ไม่มีผู้ใช้เลยแม้แต่คนเดียวค่ะ (อ้างอิงจาก hashtag ในโซเชียลมีเดีย) Firesflys (คุย) 00:11, 12 พฤษภาคม 2564 (+07)[ตอบกลับ]

  1. https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B8%97%E0%B9%8C%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B8%99
  2. https://www.facebook.com/hashtag/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AB%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%8B%E0%B8%B5
  3. https://www.facebook.com/hashtag/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B9%8B%E0%B8%99%E0%B8%8B%E0%B8%B5
  4. https://www.instagram.com/explore/tags/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AB%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%8B%E0%B8%B5/
  5. www.instagram.com
  6. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2544/E/117/2.PDF
  7. https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%93%E0%B8%91%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99yun'n