ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิตำรา:ชั้นหนังสือ/กฎหมาย"

จาก วิกิตำรา
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 187: บรรทัดที่ 187:
| [[ศาลรัฐธรรมนูญและวิธีพิจารณาคดีรัฐธรรมนูญ]] <br> (Constitutional Court and Procedure)
| [[ศาลรัฐธรรมนูญและวิธีพิจารณาคดีรัฐธรรมนูญ]] <br> (Constitutional Court and Procedure)
| ประวัติศาสตร์และความคิดเกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญ ตลอดจนภารกิจ โครงสร้าง อำนาจหน้าที่ วิธีพิจารณา ผลการพิจารณา และการบังคับตามผลการพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญไทย
| ประวัติศาสตร์และความคิดเกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญ ตลอดจนภารกิจ โครงสร้าง อำนาจหน้าที่ วิธีพิจารณา ผลการพิจารณา และการบังคับตามผลการพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญไทย
| {{ubl|ควรศึกษา|• [[กฎหมายมหาชน|กฎหมายมหาชนเบื้องต้น]] และ|• [[กฎหมายรัฐธรรมนูญ]]|มาก่อน}}
| rowspan = "2" | {{ubl|ควรศึกษา|• [[กฎหมายมหาชน|กฎหมายมหาชนเบื้องต้น]] และ|• [[กฎหมายรัฐธรรมนูญ]]|มาก่อน}}
|-
|-
| 3
| 3
| [[กฎหมายรัฐธรรมนูญเปรียบเทียบ]] <br> (Comparative Constitutional Law)
| หลักกฎหมายรัฐธรรมนูญไทย เปรียบเทียบกับของต่างประเทศในประเด็นสำคัญ
|-
| 4
| [[การควบคุมการใช้อำนาจรัฐ]] <br> (Control of Exercise of State Power)
| [[การควบคุมการใช้อำนาจรัฐ]] <br> (Control of Exercise of State Power)
| การควบคุมการใช้อำนาจรัฐ โดยสถาบันซึ่งมิใช่ศาล (เช่น ผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ฯลฯ) และโดยประชาชน
| การควบคุมการใช้อำนาจรัฐ โดยสถาบันซึ่งมิใช่ศาล (เช่น ผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ฯลฯ) และโดยประชาชน
| rowspan = "4" | {{ubl|ควรศึกษา|• [[กฎหมายมหาชน|กฎหมายมหาชนเบื้องต้น]]|มาก่อน}}
| rowspan = "4" | {{ubl|ควรศึกษา|• [[กฎหมายมหาชน|กฎหมายมหาชนเบื้องต้น]]|มาก่อน}}
|-
|-
| 4
| 5
| [[เจ้าหน้าที่ของรัฐ]] <br> (Public Authorities)
| [[เจ้าหน้าที่ของรัฐ]] <br> (Public Authorities)
| ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเจ้าหน้าที่ของรัฐประเภทต่าง ๆ เช่น ราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน ฯลฯ เป็นต้นว่า การได้มาซึ่งเจ้าหน้าที่ของรัฐ สิทธิและหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ กับทั้งวินัย การลงโทษ และการเรียกค่าเสียหายจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ
| ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเจ้าหน้าที่ของรัฐประเภทต่าง ๆ เช่น ราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน ฯลฯ เป็นต้นว่า การได้มาซึ่งเจ้าหน้าที่ของรัฐ สิทธิและหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ กับทั้งวินัย การลงโทษ และการเรียกค่าเสียหายจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ
|-
|-
| 5
| 6
| [[เศรษฐศาสตร์มหาชน]] <br> (Public Economics)
| [[เศรษฐศาสตร์มหาชน]] <br> (Public Economics)
| ความเป็นมา หลักเกณฑ์ และมาตรการของการที่รัฐเข้าควบคุมและดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ รวมถึงข้อบกพร่อง ปัญหา และวิธีแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการดังกล่าว
| ความเป็นมา หลักเกณฑ์ และมาตรการของการที่รัฐเข้าควบคุมและดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ รวมถึงข้อบกพร่อง ปัญหา และวิธีแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการดังกล่าว
บรรทัดที่ 205: บรรทัดที่ 209:
| [[สวัสดิการสังคม]] <br> (Social Welfare)
| [[สวัสดิการสังคม]] <br> (Social Welfare)
| ความเป็นมา แนวคิด หลักการ หลักเกณฑ์ และนโยบายของรัฐเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคม เช่น ลูกจ้าง ครอบครัว สตรี เยาวชน คนชรา คนพิการ ฯลฯ รวมถึงข้อบกพร่อง ปัญหา และวิธีแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการดังกล่าว
| ความเป็นมา แนวคิด หลักการ หลักเกณฑ์ และนโยบายของรัฐเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคม เช่น ลูกจ้าง ครอบครัว สตรี เยาวชน คนชรา คนพิการ ฯลฯ รวมถึงข้อบกพร่อง ปัญหา และวิธีแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการดังกล่าว
| rowspan = "2" |
|-
| 7
| [[การผังเมืองและการควบคุมอาคาร]] <br> (City Planning and Construction Control)
| ความเป็นมา หลักกฎหมาย วิธีบังคับตามกฎหมาย มาตรการเกี่ยวกับการพัฒนาเมืองอันยังให้เกิดความจำเป็นต้องมีการวางผังเมืองและควบคุมอาคาร
|-
| align = "center" colspan="30" bgcolor="#cecece"|{{color|grey|'''ระบบกฎหมาย'''}}
|-
| 1
| [[ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบกฎหมายอังกฤษและอเมริกัน]] <br> (Introduction to Anglo-American Law)
| ความเป็นมา ลักษณะ นิติวิธี และประเพณีการใช้นิติวิธีของระบบกฎหมายอังกฤษและอเมริกัน (ระบบคอมมอนลอว์)
| rowspan = "7" |
|-
| 2
| [[ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบกฎหมายฝรั่งเศส]] <br> (Introduction to French Legal System)
| rowspan = "3" | ความเป็นมา ลักษณะ สถาบันที่สำคัญ หลักกฎหมายที่สำคัญ ตลอดจนพัฒนาการใหม่ ๆ เกี่ยวกับระบบกฎหมายนี้
|-
| 3
| [[ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบกฎหมายเยอรมัน]] <br> (Introduction to German Legal System)
|-
| 4
| [[ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบกฎหมายญี่ปุ่น]] <br> (Introduction to Japanese Legal System)
|-
| 5
| [[กฎหมายโรมันเบื้องต้น]] <br> (Introduction to Roman Law)
| ประวัติศาสตร์และลักษณะของระบบกฎหมายโรมันซึ่งเป็นรากเหง้าของระบบซีวิลลอว์
|-
| 6
| [[ระบบซีวิลลอว์]] <br> (Civil Law System)
| ความเป็นมาและวิวัฒนาการของระบบซีวิลลอว์ รวมถึงความคิดพื้นฐาน ทัศนคติ บ่อเกิดของกฎหมาย นิติวิธี และหลักกฎหมายที่สำคัญในระบบซีวิลลอว์
|-
| 7
| [[กฎหมายอิสลาม]] <br> (Islamic Law)
| ประวัติศาสตร์ ลักษณะ บ่อเกิด ระบบศาล และหลักของกฎหมายอิสลาม
|-
|-
|}
|}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:15, 28 มกราคม 2556


ตำรากฎหมาย เป็นตำราที่ใช้ในการศึกษากฎหมาย ถึงแม้ว่าโครงการวิกิตำราจะมิได้ขึ้นอยู่กับท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง แต่ตำรากฎหมายในชั้นหนังสือนี้ตั้งอยู่บนระบบการศึกษากฎหมายในสถาบันอุดมศึกษาไทยเป็นหลัก

ก่อนศึกษา

แม้ตำราตามรายการที่ปรากฏในชั้นหนังสือนี้มีเนื้อหาจบในตัวและสามารถทำความเข้าใจได้โดยลำพัง แต่ผู้ต้องการศึกษานิติศาสตร์อย่างต่อเนื่อง และบุคคลทั่วไปถ้าไม่ขัดข้อง ก็ควรอ่าน

เสียก่อน

วิชาหลัก

วิชาหลัก เป็นวิชาที่ผู้ศึกษากฎหมายระดับปริญญาตรีในคณะนิติศาสตร์ไทยต้องเล่าเรียน เรียกกันตามหลักสูตรสถาบันอุดมศึกษาทั่วไปว่า "วิชาบังคับ" (compulsory subject) ใช้เวลาศึกษาสี่ปี ในแต่ละปีร่ำเรียนวิชาดังต่อไปนี้ตามลำดับ

# ตำรา เนื้อหา ปีที่ศึกษา
พื้นฐาน
1
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย
(Introduction to Law and Legal System)
บางสถาบันเรียก "กฎหมายแพ่ง: หลักทั่วไป"
(Introduction to Civil Law)
ความหมาย บ่อเกิด วิวัฒนาการ ประเภท วิธีใช้ และทัศนคติเกี่ยวกับกฎหมาย
1
2
นิติปรัชญา
(Philosophy of Law)
แนวคิดทางกฎหมาย ตลอดจนวิวัฒนาการและปัญหาพื้นฐานของแนวคิดเหล่านั้น
4
3
หลักวิชาชีพนักกฎหมาย
(Legal Profession)
วิวัฒนาการของวิชาชีพนักกฎหมาย หน้าที่ ภารกิจ คุณธรรม วินัย และอุดมคติของนักกฎหมาย องค์กรทางวิชาชีพนักกฎหมาย และปัญหาทางจริยธรรมของนักกฎหมายในปัจจุบัน
4
ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย
(Thai Legal History)
รากฐานและวิวัฒนาการของระบบกฎหมายไทย
กฎหมายแพ่ง
1
กฎหมายลักษณะบุคคล
(Law of Persons)
การเกิด ความเป็นไป และการตายของบุคคลในทางกฎหมาย ทั้งบุคคลธรรมดา (natural person) และนิติบุคคล (legal person)
1
2
กฎหมายลักษณะหนี้: หลักทั่วไป
(Introduction to Obligations)
หลักทั่วไปว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในทางแพ่ง
2
3
กฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา
(Legal Transactions and Contracts)
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในทางแพ่งซึ่งเป็นไปโดยความสมัครใจของบุคคลเหล่านั้น
1
4
เอกเทศสัญญา
(Specific Contracts)
บรรดาสัญญาซึ่งกฎหมายกำหนดชื่อและกฎเกณฑ์ไว้เป็นพิเศษตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
2
5
กฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
(Torts, Agency without Specific Authorisation and Unjust Enrichment)
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในทางแพ่งซึ่งเป็นไปโดยที่บุคคลมิได้สมัครใจ แบ่งเป็น
6
กฎหมายลักษณะทรัพย์สิน
(Property Law)
กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
7
กฎหมายลักษณะครอบครัว
(Family Law)
แนวคิดเกี่ยวกับครอบครัว กฎหมายครอบครัวตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
3
8
กฎหมายลักษณะมรดก
(Law of Succession)
กฎหมายว่าด้วยมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
กฎหมายอาญา
1
กฎหมายอาญา: ภาคทั่วไป
(Introduction to Criminal Law)
หลักทั่วไปในกฎหมายอาญา
2
2
กฎหมายอาญา: ภาคความผิด
(Criminal Law: Offences)
หลักกฎหมายอาญาว่าด้วยความผิดตามที่ประมวลกฎหมายอาญาไทยและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายมหาชน
1
กฎหมายมหาชนเบื้องต้น
(Introduction to Public Law)
แนวคิด ทฤษฎี และวิวัฒนาการของกฎหมายมหาชน บ่อเกิดกฎหมายมหาชน องค์กรทางมหาชน นิติบุคคลมหาชน
2
2
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
(Constitutional Law)
แนวคิด ทฤษฎี และวิวัฒนาการเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ตลอดจนสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
3
กฎหมายปกครอง 1
(Administrative Law 1)
แนวคิด ทฤษฎี และวิวัฒนาของการปกครองแผ่นดินและกฎหมายว่าด้วยการปกครองแผ่นดิน บ่อเกิดกฎหมายว่าด้วยการปกครองแผ่นดิน การจัดองค์กรของฝ่ายปกครอง และวิธีปกครองแผ่นดิน
4
กฎหมายปกครอง 2
(Administrative Law 2)
การควบคุมฝ่ายปกครอง
5
กฎหมายการคลังและการภาษีอากร
(Law of Public Finance and Taxation)
กฎหมายเกี่ยวกับการเงิน การคลัง การงบประมาณ ระบบภาษีอากร และสถาบันการเงิน เพื่อประโยชน์ในการปกครองแผ่นดิน
4
กฎหมายวิธีสบัญญัติ
1
ระบบศาลและหลักทั่วไปว่าด้วยวิธีพิจารณาคดี
(Judicial System and General Principles of Procedural Law)
รูปแบบของศาล การจัดองค์กรของศาล อำนาจศาล อำนาจตุลาการ และหลักทั่วไปว่าด้วยวิธีดำเนินกิจการในทางพิจารณาคดีของศาล
2
2
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
(Law of Civil Procedure)
วิธีดำเนินคดีแพ่งโดยทั่วไป
3
3
กฎหมายลักษณะพยาน
(Law of Evidence)
กฎหมายว่าด้วยพยานหลักฐาน ทั้งที่เป็นหลักทั่วไป และที่เป็นบทบัญญัติ
4
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
(Law of Criminal Procedure)
วิธีดำเนินคดีอาญาโดยทั่วไป
กฎหมายระหว่างประเทศ
1
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง
(Public International Law)
  • • แนวคิด ทฤษฎี และวิวัฒนาการของกฎหมายระหว่างประเทศ บ่อเกิดกฎหมายระหว่างประเทศ บุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศ
  • • รัฐ การเกิดรัฐ องค์ประกอบต่าง ๆ ของรัฐ และความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ
  • • กฎหมายที่ใช้ในอาณาบริเวณต่าง ๆ เช่น น่านฟ้า น่านน้ำ
  • • สิทธิมนุษยชน สงคราม และการใช้กำลัง
  • • การระงับข้อพิพาทตามกฎหมายมหาชนในระดับระหว่างประเทศ
  • • สิ่งแวดล้อม
4
2
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
(Private International Law)
  • • ความสัมพันธ์ทางกฎหมายเอกชนในระดับระหว่างประเทศ
  • • การขัดกันแห่งกฎหมาย
  • • สัญชาติ และคนต่างด้าว
  • • การระงับข้อพิพาทตามกฎหมายเอกชนในระดับระหว่างประเทศ

วิชาเลือก

วิชาเลือก เป็นวิชาที่ผู้ศึกษากฎหมายระดับปริญญาตรีในคณะนิติศาสตร์ไทยสามารถเลือกเรียนได้ตามความสนใจในระหว่างศึกษาวิชาบังคับตลอดระยะเวลาสี่ปีนั้น เรียกกันตามหลักสูตรสถาบันอุดมศึกษาทั่วไปว่า "วิชาเลือกเสรี" (elective subject)

# ตำรา เนื้อหา หมายเหตุ
กฎหมายมหาชน
1 สิทธิขั้นพื้นฐาน
(Fundamental Rights)
ความหมาย ความสำคัญ ความเป็นมา และการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ตลอดจนสิทธิขั้นพื้นฐานตามรัฐธรรมนูญไทย
2 ศาลรัฐธรรมนูญและวิธีพิจารณาคดีรัฐธรรมนูญ
(Constitutional Court and Procedure)
ประวัติศาสตร์และความคิดเกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญ ตลอดจนภารกิจ โครงสร้าง อำนาจหน้าที่ วิธีพิจารณา ผลการพิจารณา และการบังคับตามผลการพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญไทย
3 กฎหมายรัฐธรรมนูญเปรียบเทียบ
(Comparative Constitutional Law)
หลักกฎหมายรัฐธรรมนูญไทย เปรียบเทียบกับของต่างประเทศในประเด็นสำคัญ
4 การควบคุมการใช้อำนาจรัฐ
(Control of Exercise of State Power)
การควบคุมการใช้อำนาจรัฐ โดยสถาบันซึ่งมิใช่ศาล (เช่น ผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ฯลฯ) และโดยประชาชน
5 เจ้าหน้าที่ของรัฐ
(Public Authorities)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเจ้าหน้าที่ของรัฐประเภทต่าง ๆ เช่น ราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน ฯลฯ เป็นต้นว่า การได้มาซึ่งเจ้าหน้าที่ของรัฐ สิทธิและหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ กับทั้งวินัย การลงโทษ และการเรียกค่าเสียหายจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ
6 เศรษฐศาสตร์มหาชน
(Public Economics)
ความเป็นมา หลักเกณฑ์ และมาตรการของการที่รัฐเข้าควบคุมและดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ รวมถึงข้อบกพร่อง ปัญหา และวิธีแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการดังกล่าว
6 สวัสดิการสังคม
(Social Welfare)
ความเป็นมา แนวคิด หลักการ หลักเกณฑ์ และนโยบายของรัฐเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสังคม เช่น ลูกจ้าง ครอบครัว สตรี เยาวชน คนชรา คนพิการ ฯลฯ รวมถึงข้อบกพร่อง ปัญหา และวิธีแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการดังกล่าว
7 การผังเมืองและการควบคุมอาคาร
(City Planning and Construction Control)
ความเป็นมา หลักกฎหมาย วิธีบังคับตามกฎหมาย มาตรการเกี่ยวกับการพัฒนาเมืองอันยังให้เกิดความจำเป็นต้องมีการวางผังเมืองและควบคุมอาคาร
ระบบกฎหมาย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบกฎหมายอังกฤษและอเมริกัน
(Introduction to Anglo-American Law)
ความเป็นมา ลักษณะ นิติวิธี และประเพณีการใช้นิติวิธีของระบบกฎหมายอังกฤษและอเมริกัน (ระบบคอมมอนลอว์)
2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบกฎหมายฝรั่งเศส
(Introduction to French Legal System)
ความเป็นมา ลักษณะ สถาบันที่สำคัญ หลักกฎหมายที่สำคัญ ตลอดจนพัฒนาการใหม่ ๆ เกี่ยวกับระบบกฎหมายนี้
3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบกฎหมายเยอรมัน
(Introduction to German Legal System)
4 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบกฎหมายญี่ปุ่น
(Introduction to Japanese Legal System)
5 กฎหมายโรมันเบื้องต้น
(Introduction to Roman Law)
ประวัติศาสตร์และลักษณะของระบบกฎหมายโรมันซึ่งเป็นรากเหง้าของระบบซีวิลลอว์
6 ระบบซีวิลลอว์
(Civil Law System)
ความเป็นมาและวิวัฒนาการของระบบซีวิลลอว์ รวมถึงความคิดพื้นฐาน ทัศนคติ บ่อเกิดของกฎหมาย นิติวิธี และหลักกฎหมายที่สำคัญในระบบซีวิลลอว์
7 กฎหมายอิสลาม
(Islamic Law)
ประวัติศาสตร์ ลักษณะ บ่อเกิด ระบบศาล และหลักของกฎหมายอิสลาม