ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หนี้"

จาก วิกิตำรา
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 40: บรรทัดที่ 40:


* สำนักงานศาลยุติธรรม. (ม.ป.ป.). [http://www.library.coj.go.th/Eb_Sentence/Sentence0.html ''คำพิพากษาศาลฎีกา (ปี 2530 ถึงปัจจุบัน).''] [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.02.14).
* สำนักงานศาลยุติธรรม. (ม.ป.ป.). [http://www.library.coj.go.th/Eb_Sentence/Sentence0.html ''คำพิพากษาศาลฎีกา (ปี 2530 ถึงปัจจุบัน).''] [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.02.14).
* จิ๊ด เศรษฐบุตร. (2554.07). ''หลักกฎหมายแพ่งลักษณะหนี้.'' (พิมพ์ครั้งที่ 20). กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ISBN 9789744665577.
* จิ๊ด เศรษฐบุตร. (2554.07). [http://dl.parliament.go.th/bitstream/handle/lirt/301957/56509.pdf?sequence=1 ''หลักกฎหมายแพ่งลักษณะหนี้.''] (พิมพ์ครั้งที่ 20). กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ISBN 9789744665577.
* สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2551.03.10). [http://web.krisdika.go.th/data/law/law4/%bb03/%bb03-20-9999-update.pdf ''ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์.''] [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.02.14).
* สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2551.03.10). [http://web.krisdika.go.th/data/law/law4/%bb03/%bb03-20-9999-update.pdf ''ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์.''] [ออนไลน์]. (เข้าถึงเมื่อ: 2556.02.14).
* ภัทรศักดิ์ วรรณแสง. (2552). ''หลักกฎหมายหนี้''. (พิมพ์ครั้งที่ 10, แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: วิญญูชน. ISBN 9789742887483.
* ภัทรศักดิ์ วรรณแสง. (2552). ''หลักกฎหมายหนี้''. (พิมพ์ครั้งที่ 10, แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: วิญญูชน. ISBN 9789742887483.

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:22, 18 ธันวาคม 2556




หนี้ (obligation) เป็นความสัมพันธ์ทางกฎหมายระหว่างบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป ฝ่ายหนึ่งเรียกว่า "เจ้าหนี้" มีสิทธิบังคับให้อีกฝ่ายซึ่งเรียก "ลูกหนี้" ทำหรือไม่ทำการใด ๆ เพื่อประโยชน์ของฝ่ายเจ้าหนี้ได้

กฎหมายเกี่ยวกับหนี้นั้นเรียก กฎหมายลักษณะหนี้ (law of obligations) เนื่องจากหนี้เป็นความสัมพันธ์พื้นฐานอย่างหนึ่งในกฎหมายแพ่ง กฎหมายลักษณะหนี้จึงเป็นกฎหมายหลักกลุ่มหนึ่งในกฎหมายแพ่งด้วย แบ่งศึกษาตามลำดับดังนี้

  บทที่ 1   บททั่วไป: ภาพรวมว่าด้วยหนี้คืออะไร เกิดขึ้นอย่างไร มีลักษณะอย่างไร มีผลอย่างไร และใครคือเจ้าหนี้กับลูกหนี้

  บทที่ 2   อำนาจแห่งหนี้: เมื่อหนี้เกิดขึ้นแล้ว เจ้าหนี้ลูกหนี้มีสิทธิและหน้าที่อย่างไรบ้าง

  บทที่ 3   เจ้าหนี้และลูกหนี้หลายคน: เมื่อคู่กรณีฝ่ายหนึ่ง ๆ มีหลายคน คนเหล่านั้นมีความสัมพันธ์ระหว่างกันและความสัมพันธ์กับคู่กรณีอีกฝ่ายเช่นไร

  บทที่ 4   ความระงับแห่งหนี้: หนี้สิ้นสุดลงได้อย่างไร และส่งผลเช่นไร

รายละเอียดของแต่ละบทปรากฏอยู่ในกล่องท้ายหน้านี้แล้ว

ตำรานี้ว่าด้วยหนี้ตามกฎหมายแพ่ง สำหรับหนี้ตามกฎหมายมหาชน ดู หนี้สาธารณะ (government debt) และหนี้ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ดู พันธกรณี (obligation)

อนึ่ง เพื่อประโยชน์ในการศึกษา ตำรานี้ได้แทรกศัพท์กฎหมายที่เป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นไว้ด้วย ศัพท์เหล่านี้อ้างอิงประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน ญี่ปุ่น หรือฝรั่งเศส ซึ่งเป็นแม่แบบ ป.พ.พ. เป็นหลัก

ตำรานี้ยังแทรก ฎ. บางฉบับไว้ด้วย แต่พึงทราบว่า ในระบบซีวิลลอว์ (civil law) ซึ่งเป็นระบบกฎหมายที่ใช้ในประเทศไทยนั้น คำพิพากษาไม่เป็นกฎหมาย เป็นเพียงการปรับใช้กฎหมายเป็นรายกรณีไปเท่านั้น

รายการอ้างอิง[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ภาษาไทย[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ภาษาต่างประเทศ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

กฎหมาย
อื่น ๆ



ขึ้น