ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบเศรษฐกิจ/ระบบเศรษฐกิจแบบผสม"

จาก วิกิตำรา
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Parintar (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Parintar (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 18: บรรทัดที่ 18:
# [[ระบบเศรษฐกิจ/ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม|ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม]] ( socialism )
# [[ระบบเศรษฐกิจ/ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม|ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม]] ( socialism )
# [[ระบบเศรษฐกิจ/ระบบเศรษฐกิจแบบผสม|ระบบเศรษฐกิจแบบผสม]] ( mixed economy )
# [[ระบบเศรษฐกิจ/ระบบเศรษฐกิจแบบผสม|ระบบเศรษฐกิจแบบผสม]] ( mixed economy )
# '''[[ระบบเศรษฐกิจ/หน้าที่และเป้าหมายของบุคคลในระบบเศรษฐกิจ|หน้าที่และเป้าหมายของบุคคลในระบบเศรษฐกิจ]]'''
# [[ระบบเศรษฐกิจ/หน้าที่และเป้าหมายของบุคคลในระบบเศรษฐกิจ|หน้าที่และเป้าหมายของบุคคลในระบบเศรษฐกิจ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:24, 7 ธันวาคม 2558

ระบบเศรษฐกิจแบบผสมเป็นระบบเศรษกิจที่มีลักษณะผสมผสานระหว่างแบบทุนนิยมและสังคมนิยม กล่าวคือ ภายใต้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมทั้งรัฐและเอกชนต่างมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ปัจจัยการผลิตมีทั้งส่วนที่เป็นของรัฐและเอกชน

ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบผสม

1.เป็นระบบเศรษฐกิจที่ค่อนข้างมีความคล่องตัว

ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบผสม

1.การมีกำไรและระบบกรรมสิทธิ์ในทรัพสินอาจทำให้เกิดการเหลื่อมล้ำทางฐานะและรายได้

2.การที่รัฐสามารถเข้าแทรกแซงตลาดโดยใช้กลไกรัฐอาจก่อให้เกิด

2.1 ปัญหาการฉ้อราษฎร์บังหลวง

2.2ปัญหาเอกชนไม่กล้าลงทุนอย่างเต็มที่ เนื่องจากไม่แน่ใจในสถานการณ์ทางการเมืองและนโยบายของรัฐบาลซึ่งมีความผันผวนและเปลี่ยนแปลงได้ง่าย

สารบัญ

  1. ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมหรือทุนนิยม ( Laissez-faire or capitalism)
  2. ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ ( communism )
  3. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม ( socialism )
  4. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ( mixed economy )
  5. หน้าที่และเป้าหมายของบุคคลในระบบเศรษฐกิจ