ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปรัชญายุคกลาง"

จาก วิกิตำรา
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Darrine (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Darrine (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 18: บรรทัดที่ 18:


ในศาสนายูดาห์ นำปรัชญาไปใช้อธิบายศาสนา ดังนี้
ในศาสนายูดาห์ นำปรัชญาไปใช้อธิบายศาสนา ดังนี้
Avicebron (Solomon ibn Gabirol ค.ศ. 1022-1070) ใช้แนวคิด Neo-Platonism เสนอว่า all created being are constituted of form and matter และ มี physical world กับ spiritual world
# Avicebron (Solomon ibn Gabirol ค.ศ. 1022-1070) ใช้แนวคิด Neo-Platonism เสนอว่า all created being are constituted of form and matter และ มี physical world กับ spiritual world




บรรทัดที่ 29: บรรทัดที่ 29:


* อภิปรัชญาของเซนต์ ธามเมิส อไควเนิส (St. Thomas Aquinas ค.ศ. 1225-1274) ได้ศึกษาปรัชญาของแอร์เริสทาทเทิลและยืนยันว่าสามารถช่วยให้เข้าใจความเป็นจริงตามแนวทางศาสนาคริตส์ได้ ใช้ปรัชญาของ Aristotle ว่า God is the maker of heaven and earth, of all that is visible and invisible เน้นว่าความเป็นจริงทั้งหลายนั้นก็คือพระเจ้านั่นเอง พระเป็นเจ้าจึงเป็นกฎเกณฑ์แห่งความจริงทั้งหลาย และทรงเป็นแบบของความจริงทั้งหลาย
* อภิปรัชญาของเซนต์ ธามเมิส อไควเนิส (St. Thomas Aquinas ค.ศ. 1225-1274) ได้ศึกษาปรัชญาของแอร์เริสทาทเทิลและยืนยันว่าสามารถช่วยให้เข้าใจความเป็นจริงตามแนวทางศาสนาคริตส์ได้ ใช้ปรัชญาของ Aristotle ว่า God is the maker of heaven and earth, of all that is visible and invisible เน้นว่าความเป็นจริงทั้งหลายนั้นก็คือพระเจ้านั่นเอง พระเป็นเจ้าจึงเป็นกฎเกณฑ์แห่งความจริงทั้งหลาย และทรงเป็นแบบของความจริงทั้งหลาย


นักอภิปรัชญากระบวนทรรศน์ที่ 3 ช่วงหลังไม่ว่าจะนับถือศาสนาคริสต์ อิสลามหรือยูดาห์ ถือเป็นแนวคิดร่วมกันว่าเอาปรัชญาของแอร์เริสทาทเทิลเป็นหลัก แต่ไม่เห็นด้วยว่าความเป็นจริงในเอกภพเกิดจากการผสมของธาตุ 4 จึงแปลงให้เข้ากับความเชื่อเรื่องพระเจ้าเป็นผู้สร้างทุกสิ่งในเอกภพ ในการสร้างพระองค์ทรงมีแผนการสร้างอันมีระเบียบตามพระสัพพัญญู (Providence) สิ่งสร้างทั้งหลายแบ่งออกเป็น ระดับใหญ่ คือ ระดับสสารและระดับจิต โดยมีมนุษย์เป็นสะพานเชื่อมระหว่างสสารกับจิต สสารเป็นเนื้อเดียว แต่ต่างกันที่รูปแบบซึ่งเรียงลำดับชั้นตามแผนการสร้างของพระองค์คือ วัตถุ พืช สัตว์ มนุษย์และเหนือมนุษย์ขึ้นไปก็มีเทวดาซึ่งมีการลดหลั่นชั้นต่าง ๆ จากต่ำไปหาสูง
# Faith and reason complement rather than contradict each other, each giving different views of the same truth
# Faith and reason complement rather than contradict each other, each giving different views of the same truth
# ปรัชญาจึงเริ่มจากความจริงไปยังพระเจ้า ส่วนในด้านเทววิทยาจะเริ่มจากพระเจ้าไปหาความจริง ระหว่างเหตุผลกับความเชื่อนั้น
# ปรัชญาจึงเริ่มจากความจริงไปยังพระเจ้า ส่วนในด้านเทววิทยาจะเริ่มจากพระเจ้าไปหาความจริง ระหว่างเหตุผลกับความเชื่อนั้น
บรรทัดที่ 37: บรรทัดที่ 34:
# ความรู้จริง คือ ความรู้จากความคิดอย่างลึกซึ้ง ทั้งที่เป็นสากลและเฉพาะ รูปแบบทางปัญญาของท่านนั้นเรียกว่าบ่อเกิดความรู้
# ความรู้จริง คือ ความรู้จากความคิดอย่างลึกซึ้ง ทั้งที่เป็นสากลและเฉพาะ รูปแบบทางปัญญาของท่านนั้นเรียกว่าบ่อเกิดความรู้


นักอภิปรัชญากระบวนทรรศน์ที่ 3 ช่วงหลังไม่ว่าจะนับถือศาสนาคริสต์ อิสลามหรือยูดาห์ ถือเป็นแนวคิดร่วมกันว่าเอาปรัชญาของแอร์เริสทาทเทิลเป็นหลัก แต่ไม่เห็นด้วยว่าความเป็นจริงในเอกภพเกิดจากการผสมของธาตุ 4 จึงแปลงให้เข้ากับความเชื่อเรื่องพระเจ้าเป็นผู้สร้างทุกสิ่งในเอกภพ ในการสร้างพระองค์ทรงมีแผนการสร้างอันมีระเบียบตามพระสัพพัญญู (Providence) สิ่งสร้างทั้งหลายแบ่งออกเป็น 2 ระดับใหญ่ คือ ระดับสสารและระดับจิต โดยมีมนุษย์เป็นสะพานเชื่อมระหว่างสสารกับจิต สสารเป็นเนื้อเดียว แต่ต่างกันที่รูปแบบซึ่งเรียงลำดับชั้นตามแผนการสร้างของพระองค์คือ วัตถุ พืช สัตว์ มนุษย์และเหนือมนุษย์ขึ้นไปก็มีเทวดาซึ่งมีการลดหลั่นชั้นต่าง ๆ จากต่ำไปหาสูง

ช่วงเปลี่ยนถ่ายความคิดทางปรัชญานี้มีการกระทบกระทั่งกันของนักปรัชญาทั้งสองฝ่าย ต่างฝ่ายต่างนำเสนอเพื่อให้ฝ่ายตนชนะว่าเป็นระบบเครือข่ายที่ตอบสนองต่อแนวทางปกครอง�โดยศาสนจักร เนื่องจากหลักค้ำประกันความเป็นจริงถูกเสริมความเข้มแข็งด้วยวิวรณ์ทางศาสนา
ใครคิดเห็นไม่ตรงกันจึงถูกกล่าวโทษ โดยมีการจัดตั้งศาลศาสนา (inquisition) ระหว่าง ค.ศ. 1231 - 1834 เพื่อไต่สวนลงโทษผู้ที่ถูกกล่าวหาว่ามีความคิดเห็นขัดแย้งกับคำสอนในศาสนาคริสต์


'''คำถามสำคัญแห่งยุค''' คือ การประนีประนอมปรัชญากับศาสนาทำได้อย่างไร
* ไม่มีการประนีประนอม ศาสนาประเสริฐกว่าปรัชญา อย่าเสียเวลาสนใจปรัชญา พึงเร่งบำเพ็ญกุศลอย่างเคร่งครัด
* ประนีประนอมด้วยลัทธิเพลโทว์ใหม่ (Neo-Platonism)
* ประนีประนอมด้วยลัทธิอย่างอริสโตเติล (Aristotelianism)
* เกิดแนวคิด Si Vis Pacem, Para Bellum


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:28, 3 กุมภาพันธ์ 2559

กระบวนทรรศน์ยุคกลาง (Medieval paradigm)

ปรัชญากระบวนทรรศน์ยุคกลาง (Medieval Philosophy) จำแนกตามพื้นฐานความเชื่อเรื่องโลกหน้าอันเป็นคำสอนทางศาสนาของศาสนาที่นับถือพระเจ้า และศาสนาที่เชื่อว่ามีเทวะ การแบ่งขอบเขตยุคจึงยุ่งยากในแต่ละศาสนา แต่หากพิจารณาเป็นกระบวนทรรศน์ก็แบ่งย่อยไปตามศาสนา

  • กระบวนทรรศน์ยุคกลางของตะวันตก นับจากปี ค.ศ.529 ซึ่งศาสนาคริสต์ได้รับการยกเป็นศาสนาประจำอาณาจักรโรมัน และมีการห้ามนับถือศาสนาอื่น ทำให้อิทธิพลของศาสนาคริสต์เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางกว่า 1,000 ปี
  • กระบวนทรรศน์ยุคกลางในศาสนาอิสลามนับเริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ.622 ซึ่งเป็นปีที่ 1 แห่งฮิจเราะห์ศักราช
  • กระบวนทรรศน์ยุคกลางในศาสนาพุทธ นับเริ่มตั้งแต่ปี ก.ค.ศ.543 ซึ่งเป็นปีที่ 1 แห่งพุทธศักราช

การค้นหาความเป็นจริงตามแนวคิดทางอภิปรัชญาที่เกิดขึ้นตามแนวคิดกระบวนทรรศน์ที่ 3 ยุคกลาง กฎหมายโรมันให้อิสระในการนับถือและเผยแผ่ศาสนา เกิดลัทธิเพลโทว์ใหม่ (Neo-Platonism) เพื่อการประนีประนอมระหว่างปรัชญากับศาสนา World of Idea นำไปสู่ Idea of the Good ซึ่งก็คือ God นั่นเอง

  1. Philo of Alexandria (ก.ค.ศ.15-ค.ศ.50) ใช้ปรัชญาอธิบายพระเจ้าในศาสนายูดาห์ว่า God is absolutely transcendent และ his notion is even more abstract 
  2. Plotinus (ค.ศ.205-270) ใช้ปรัชญาอธิบายศาสนา Zoroaster (Zarathustra �ก.ค.ศ.1800-600) ผ่าน The One, the Intellect และ The Soul

ในศาสนาอิสลาม นำปรัชญาไปใช้อธิบายศาสนา ดังนี้

  1. Avicenna (Ibn-Sina ค.ศ. 980-1037) ใช้แนวคิดการฟุ้งออก (emanation) จากพระเจ้าตามแนวคิด Neo-Platonism และ การแยกระหว่าง essense กับ existence ตามแนวคิด Aristotelianism
  2. Averroes (Ibn Rushd ค.ศ.1126-1198) ใช้แนวคิดของ Aristotle คัดค้านแนวคิดของ Avicenna และเสนอว่า individual existing substances are primary และ existence and essence are one

ในศาสนายูดาห์ นำปรัชญาไปใช้อธิบายศาสนา ดังนี้

  1. Avicebron (Solomon ibn Gabirol ค.ศ. 1022-1070) ใช้แนวคิด Neo-Platonism เสนอว่า all created being are constituted of form and matter และ มี physical world กับ spiritual world


ในศาสนาคริตส์ นำปรัชญาไปใช้อธิบายศาสนา ดังนี้

  • อภิปรัชญาของเซนต์ออเกิสทีน (St. Augustine ค.ศ.345-430) เห็นว่าปรัชญาของเพลโทว์ซึ่งผ่านมาทางโพลทายเนิส อาจจะนำมาใช้อธิบายความเชื่อในคริสต์ศาสนาได้ โดยปรับการล้นขององค์เอกะมาเป็นวิญญาณของมนุษย์แต่ละคนเป็นสิ่งสร้างของพระเจ้า ไม่ใช่ส่วนหนึ่งชองพระเจ้าซึ่งล้นออกมา คำสอนเรื่องพระตรีเอกภาพในคริสต์ศาสนา ซึ่งถือว่าพระเจ้าเดียวมีสามบุคคล (Doctrine of The Trinity) คือ พระบิดา พระบตร และพระจิต (พระวิญญาณบริสุทธ์) อธิบายด้วยปรัชญาของเพลโทว์ได้ คือ พระบุตรเป็นพระปัญญาของพระบิดา และพระจิตเป็นความรักระหว่างพระบิดากับพระบุตร ทั้งสามเป็นพระเจ้าองค์เดียว สิ่งต่าง ๆ ทั้งหลายที่เป็นหน่วยเฉพาะ ย่อมมีความเป็นจริงแท้อยู่ในที่แห่งเดียวกัน คือ ในพระปัญญา พระเจ้าทรงมีแผนการสร้างไว้เรียบร้อยทุกอย่างแล้ว สิ่งต่าง ๆ จึงเกิดขึ้นมาตามแผนการนี้ จะออกนอกลู่ทางไปไม่ได้ ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมมีกฎเกณฑ์ประสานกันเรียบร้อยเป็นระบบจักรวาล (Cosmos)
  1. ความรู้มีค่าที่สุด หรือความรู้เกี่ยวกับพระเป็นเจ้าและวิญญาณ ความรู้ประเภทอื่นจะมีค่าก็ต่อเมื่อนำมาสนับสนุนความรู้เกี่ยวกับพระเจ้า เพื่อให้เข้าใจพระเจ้าเท่านั้น
  2. เป็นหน้าที่ของมนุษย์ที่จะต้องเข้าใจสิ่งที่ตนเองเชื่ออย่างแน่วแน่ และพยายามหาพื้นฐานของศรัทธาด้วยเหตุผล การมีศรัทธานั้นก็เพื่อให้เกิดความเข้าใจ เชาว์ปัญญาเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อให้เกิดความเข้าใจ จะรู้แจ้งได้ต้องอาศัยรู้ด้วยตนเองหรือมีปัญญาอย่างแท้จริง ดังนั้นปัญญาที่รู้แจ้งเช่นนี้สามารถจะรู้เรื่องพระเจ้าและวิญญาณได้
  3. พระเจ้าเป็นผู้สร้างสรรพสิ่ง ทุกสิ่งเป็นส่วนหนึ่งของพระเจ้า พระองค์เป็นอยู่นิรันดร และตามหลักจริยศาสตร์ของท่านกล่าวว่า เมื่อจิตใจมั่นคงอยู่กับพระเจ้า ก็คือการได้เห็นพระเจ้านั่นเอง ชีวิตในโลกนี้ของคนเราเป็นเพียงทางบำเพ็ญบุญ เพื่อเข้าถึงพระเจ้าเท่านั้น เราจะเข้าถึงพระเจ้าได้เพราะความรัก ความรักจึงเป็นคุณธรรมสูงสุด และความยุติธรรมคือการรับใช้พระเจ้า
  • อภิปรัชญาของเซนต์ ธามเมิส อไควเนิส (St. Thomas Aquinas ค.ศ. 1225-1274) ได้ศึกษาปรัชญาของแอร์เริสทาทเทิลและยืนยันว่าสามารถช่วยให้เข้าใจความเป็นจริงตามแนวทางศาสนาคริตส์ได้ ใช้ปรัชญาของ Aristotle ว่า God is the maker of heaven and earth, of all that is visible and invisible เน้นว่าความเป็นจริงทั้งหลายนั้นก็คือพระเจ้านั่นเอง พระเป็นเจ้าจึงเป็นกฎเกณฑ์แห่งความจริงทั้งหลาย และทรงเป็นแบบของความจริงทั้งหลาย
  1. Faith and reason complement rather than contradict each other, each giving different views of the same truth
  2. ปรัชญาจึงเริ่มจากความจริงไปยังพระเจ้า ส่วนในด้านเทววิทยาจะเริ่มจากพระเจ้าไปหาความจริง ระหว่างเหตุผลกับความเชื่อนั้น
  3. ความดีกับความงามเป็นอันเดียวกัน
  4. ความรู้จริง คือ ความรู้จากความคิดอย่างลึกซึ้ง ทั้งที่เป็นสากลและเฉพาะ รูปแบบทางปัญญาของท่านนั้นเรียกว่าบ่อเกิดความรู้

นักอภิปรัชญากระบวนทรรศน์ที่ 3 ช่วงหลังไม่ว่าจะนับถือศาสนาคริสต์ อิสลามหรือยูดาห์ ถือเป็นแนวคิดร่วมกันว่าเอาปรัชญาของแอร์เริสทาทเทิลเป็นหลัก แต่ไม่เห็นด้วยว่าความเป็นจริงในเอกภพเกิดจากการผสมของธาตุ 4 จึงแปลงให้เข้ากับความเชื่อเรื่องพระเจ้าเป็นผู้สร้างทุกสิ่งในเอกภพ ในการสร้างพระองค์ทรงมีแผนการสร้างอันมีระเบียบตามพระสัพพัญญู (Providence) สิ่งสร้างทั้งหลายแบ่งออกเป็น 2 ระดับใหญ่ คือ ระดับสสารและระดับจิต โดยมีมนุษย์เป็นสะพานเชื่อมระหว่างสสารกับจิต สสารเป็นเนื้อเดียว แต่ต่างกันที่รูปแบบซึ่งเรียงลำดับชั้นตามแผนการสร้างของพระองค์คือ วัตถุ พืช สัตว์ มนุษย์และเหนือมนุษย์ขึ้นไปก็มีเทวดาซึ่งมีการลดหลั่นชั้นต่าง ๆ จากต่ำไปหาสูง

ช่วงเปลี่ยนถ่ายความคิดทางปรัชญานี้มีการกระทบกระทั่งกันของนักปรัชญาทั้งสองฝ่าย ต่างฝ่ายต่างนำเสนอเพื่อให้ฝ่ายตนชนะว่าเป็นระบบเครือข่ายที่ตอบสนองต่อแนวทางปกครอง�โดยศาสนจักร เนื่องจากหลักค้ำประกันความเป็นจริงถูกเสริมความเข้มแข็งด้วยวิวรณ์ทางศาสนา ใครคิดเห็นไม่ตรงกันจึงถูกกล่าวโทษ โดยมีการจัดตั้งศาลศาสนา (inquisition) ระหว่าง ค.ศ. 1231 - 1834 เพื่อไต่สวนลงโทษผู้ที่ถูกกล่าวหาว่ามีความคิดเห็นขัดแย้งกับคำสอนในศาสนาคริสต์

คำถามสำคัญแห่งยุค คือ การประนีประนอมปรัชญากับศาสนาทำได้อย่างไร

  • ไม่มีการประนีประนอม ศาสนาประเสริฐกว่าปรัชญา อย่าเสียเวลาสนใจปรัชญา พึงเร่งบำเพ็ญกุศลอย่างเคร่งครัด
  • ประนีประนอมด้วยลัทธิเพลโทว์ใหม่ (Neo-Platonism)
  • ประนีประนอมด้วยลัทธิอย่างอริสโตเติล (Aristotelianism)
  • เกิดแนวคิด Si Vis Pacem, Para Bellum

อ้างอิง

  1. กีรติ บุญเจือ, ย้อนอ่านปรัชญาโบราณของมนุษยชาติ ในชุดปรัชญาและศาสนาเซนต์จอห์น, กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น, 2546
  2. เอนก สุวรรณบัณฑิต. (2558). เอกสารประกอบการสอนวิชาปรัชญาศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.