ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทคนิคการถ่ายภาพ/การถ่ายภาพเฉพาะอย่าง"

จาก วิกิตำรา
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Watcharakorn (คุย | ส่วนร่วม)
Reverted edit of 61.7.156.224, changed back to last version by Manop
บรรทัดที่ 24: บรรทัดที่ 24:
ช่วงเวลาที่ถ่ายภาพสวย 6.00-9.00 น. และ 15.00-18.00น เดือน พย. - เมษ.สำหรับเมืองไทย
ช่วงเวลาที่ถ่ายภาพสวย 6.00-9.00 น. และ 15.00-18.00น เดือน พย. - เมษ.สำหรับเมืองไทย
== เทคนิคการถ่ายภาพโดยแบ่งตามลักษณะสถาปัตยกรรม ==
*สมัยใหม่ จะเน้นรูปร่าง สีที่ตัดกัน ท้องฟ้าคม
*ทรงไทย เน้นความนุ่ม สีขาว หรืออ่อน
*สิ่งก่อสร้างทางวัฒนธรรม เน้นความยิ่งใหญ่ น่าเคารพ สงบ

=== เทคนิคการถ่ายภาพ แบ่งตามวัตถุ ===

*กำแพง เน้นเงาที่ตกกระทบ แสงที่ตกกระทบ
*ช่องเปิด ( หน้าต่าง/ประตู) แนวคิด ฉากบัง แสงที่ผ่าน เงาที่ตกกระทบ
*กระจก เน้นแสงทะลุจากภายใน และเงาที่อยู่ในกระจก
*น้ำ ในสถานที่จริง หรืออาจมีการพรมน้ำก็ได้ แนวคิดใช้น้ำเป็นกระจกสะท้อนภาพวัตถุ แบ่งได้เป็น น้ำนิ่ง, น้ำไหวเล็กน้อย, น้ำไหวมาก หรืออาจมีดอกไม้ลอยอยู่
*คน มีจุดมุ่งหมายให้เป็นจุดสนใจ หรือเปรียบเทียบสเกล ไม่ควรเห็นภาพบุคคลชัดเจน เพียงเป็นพอทราบว่าเป็นบุคคล

วัตถุที่น่าสนใจควรเน้นให้ดูเกินจริง บางเช่น เอียงมากว่าปกติ หรือให้เห็นเด่นเป็นพิเศษ







รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:02, 12 มกราคม 2549

การถ่ายภาพเฉพาะอย่าง


เทคนิคการถ่ายภาพวิวทิวทัศน์

(รอเพิ่มเติม)

เทคนิคการถ่ายภาพสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า

(รอเพิ่มเติม)

เทคนิคการถ่ายภาพดอกไม้

(รอเพิ่มเติม)

เทคนิคการถ่ายภาพบุคคล

การถ่ายภาพบุคค คือการถ่ายภาพที่เน้นบุคคล สามารถแบ่งได้

  • การถ่ายรูปเหตุการณ์ เป็นการถ่ายรูปโดยที่ได้มีการจัดรูปแบบก่อน
  • การถ่ายรูปจัดรูปแบบ

เทคนิคการถ่ายภาพสิ่งก่อสร้างหรือสถาปัตยกรรม

สถาปัตยกรรม เป็นการออกแบบโดยใช้โครงสร้างกำแพงและช่องเปิด โดยอาศัยเส้นตรงเป็นส่วนประกอบของโครงสร้างเพื่อเป็นภาพ ดังนั้น ภาพถ่ายสถาปัตยกรรม เน้น เรื่องการแสงและเงาของธรรมชาติ และการอธิบายโครงสร้างได้ถูกต้อง ( ส่วนที่เป็นเส้นตรงต้องถ่ายให้เป็นเส้นตรง ) แต่ควรจัดสถานที่ให้เรียบร้อย รูปที่ถ่ายต้องมีจุดเด่นในแต่ละภาพ และแสงที่แตกต่างกันในภาพไม่ควรเกิน 20 % เนื่องจากส่วนมากต้องใช้เลนส์ wide มากพึงระวังวัตถุที่อยู่ใกล้

ช่วงเวลาที่ถ่ายภาพสวย 6.00-9.00 น. และ 15.00-18.00น เดือน พย. - เมษ.สำหรับเมืองไทย

เทคนิคการถ่ายภาพโดยแบ่งตามลักษณะสถาปัตยกรรม

  • สมัยใหม่ จะเน้นรูปร่าง สีที่ตัดกัน ท้องฟ้าคม
  • ทรงไทย เน้นความนุ่ม สีขาว หรืออ่อน
  • สิ่งก่อสร้างทางวัฒนธรรม เน้นความยิ่งใหญ่ น่าเคารพ สงบ

เทคนิคการถ่ายภาพ แบ่งตามวัตถุ

  • กำแพง เน้นเงาที่ตกกระทบ แสงที่ตกกระทบ
  • ช่องเปิด ( หน้าต่าง/ประตู) แนวคิด ฉากบัง แสงที่ผ่าน เงาที่ตกกระทบ
  • กระจก เน้นแสงทะลุจากภายใน และเงาที่อยู่ในกระจก
  • น้ำ ในสถานที่จริง หรืออาจมีการพรมน้ำก็ได้ แนวคิดใช้น้ำเป็นกระจกสะท้อนภาพวัตถุ แบ่งได้เป็น น้ำนิ่ง, น้ำไหวเล็กน้อย, น้ำไหวมาก หรืออาจมีดอกไม้ลอยอยู่
  • คน มีจุดมุ่งหมายให้เป็นจุดสนใจ หรือเปรียบเทียบสเกล ไม่ควรเห็นภาพบุคคลชัดเจน เพียงเป็นพอทราบว่าเป็นบุคคล

วัตถุที่น่าสนใจควรเน้นให้ดูเกินจริง บางเช่น เอียงมากว่าปกติ หรือให้เห็นเด่นเป็นพิเศษ



เทคนิคการถ่ายภาพวัตถุนิ่ง

(รอเพิ่มเติม)

เทคนิคการถ่ายภาพเคลื่อนไหวและภาพกีฬา

(รอเพิ่มเติม)

เทคนิคการถ่ายภาพในสภาพแสงน้อย

(รอเพิ่มเติม)

เทคนิคการถ่ายภาพบนจอโทรทัศน์

(รอเพิ่มเติม)

เทคนิคการถ่ายภาพพาโนรามา

(รอเพิ่มเติม)

เทคนิคการถ่ายภาพใกล้และภาพขยายส่วน

(รอเพิ่มเติม)

เทคนิคการถ่ายภาพลอกแบบและการสำเนา

(รอเพิ่มเติม)

เทคนิคการถ่ายภาพดิจิตอล

(รอเพิ่มเติม)

ภาพและความคิดสร้างสรรค์

(รอเพิ่มเติม)