ภาษาไทย/ไวยากรณ์/ภาษาไทยเบื้องต้น/วรรณยุกต์และการผันอักษร

จาก วิกิตำรา

ห้า |}

วรรณยุกต์ไทย[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

วรรณยุกต์ หมายถึง เครื่องหมายที่แสดงเสียงสูง ต่ำ ของคำในภาษาไทย มี ๔ รูป คือ

เอก โท ตรี จัตวา

ในภาษาไทยคำทุกคำเมื่อใส่วรรณยุกต์เข้าไปแล้ว จะทำให้อ่านออกเสียงต่างกัน และความหมายของคำก็จะเปลี่ยนไปด้วย เช่น

คำ
(เอก)

(โท)

(ตรี)

(จัตวา)
ตี ตี่ ตี้ ตี๊ ตี๋
ปา ป่า ป้า ป๊า ป๋า
เกา เก่า เก้า เก๊า เก๋า
อาน อ่าน อ้าน อ๊าน อ๋าน

อักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

อักษรไทยแบ่งตามการออกเสียงเป็น ๓ หมู่ หรือเป็นระบบไตรยางศ์ได้ดังนี้

  • อักษรกลาง มี ๙ ตัว ได้แก่
ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ
  • อักษรสูง มี ๑๑ ตัว ได้แก่
ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
  • อักษรต่ำ มี ๒๔ ตัว ได้แก่
ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ
อักษรต่ำคู่ คืออักษรต่ำที่มีเสียงคู่กับอักษรสูง มี ๑๔ ตัว ๗ เสียง ได้แก่
ค, ฅ, ฆ (ข,ฃ) ช, ฌ (ฉ) ซ (ศ, ษ, ส) ฑ, ฒ, ท, ธ (ฐ, ถ) พ, ภ (ผ) ฟ (ฝ) และ ฮ (ห)
อักษรต่ำเดี่ยว คืออักษรต่ำที่ไม่มีเสียงคู่กับอักษรสูง มีทั้งสิ้น ๑๐ ตัว ได้แก่
ง, ญ, ณ, น, ม, ย, ร, ล, ว และ ฬ

การผันอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

อักษรกลาง[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • อักษรกลาง พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันได้ครบทั้ง ๕ เสียง คือ ผันด้วยวรรณยุกต์เอกเป็นเสียงเอก ผันด้วยวรรณยุกต์โทเป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์ตรีเป็นเสียงตรี ผันด้วยวรรณยุกต์จัตวาเป็นเสียงจัตวา เช่น


คำ
(สามัญ)

(เอก)

(โท)

(ตรี)

(จัตวา)
ปู ปู
(ยศตรี)
ปู่
(ยศเอก)
ปู้
(ยศโท)
ปู๊
(ยศตรี)
ปู๋
(ยศจัตวา)
จา จา
(ยศตรี)
จ่า
(ยศเอก)
จ้า
(ยศโท)
จ๊า
(ยศตรี)
จ๋า
(ยศจัตวา)
อา อา
(ยศตรี)
อ่า
(ยศเอก)
อ้า
(ยศโท)
อ๊า
(ยศตรี)
อ๋า
(ยศจัตวา)
ไก ไก
(ยศตรี)
ไก่
(ยศเอก)
ไก้
(ยศโท)
ไก๊
(ยศตรี)
ไก๋
(ยศจัตวา)


แต่ถ้าเป็นคำตาย จะผันได้แค่ ๔ เสียง คือ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี และเสียงจัตวา เช่น


คำ
(สามัญ)

(เอก)

(โท)

(ตร)

(จัตวา)
กัด - กัด
(ยศจัตวา)
กั้ด
(ยศโท)
กั๊ด
(ยศตรี)
กั๋ด
(ยศจัตวา)
จาก - จาก
(ยศจัตวา)
จ้าก
(ยศโท)
จ๊าก
(ยศตรี)
จ๋าก
(ยศจัตวา)
อาบ - อาบ
(ยศจัตวา)
อ้าบ
(ยศโท)
อ๊าบ
(ยศตรี)
อ๋าบ
(ยศจัตวา)
บีบ - บีบ
(ยศจัตวา)
บี้บ
(ยศโท)
บี๊บ
(ยศตรี)
บี๋บ
(ยศจัตวา)

อักษรสูง[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • อักษรสูง พื้นเสียงเป็นเสียงจัตวา ผันด้วยวรรณยุกต์เอกเป็นเสียงเอก ผันด้วยวรรณยุกต์โทเป็นเสียงโท เช่น


คำ
(สามัญ)

(เอก)

(โท)

(ตรี)

(จัตวา)
ไข - ไข่
(ยศเอก)
ไข้
(ยศโท)
- ไข
(ยศตรี)
ขา - ข่า
(ยศเอก)
ข้า
(ยศโท)
- ขา
(ยศตรี)
ผึง - ผึ่ง
(ยศเอก)
ผึ้ง
(ยศโท)
- ผึง
(ยศตรี)
ฝาย - ฝ่าย
(ยศเอก)
ฝ้าย
(ยศโท)
- ฝาย
(ยศตรี)


แต่ถ้าเป็นคำตาย จะผันได้แค่ ๒ เสียง คือ เสียงเอก และเสียงโท เช่น


คำ
(สามัญ)

(เอก)

(โท)

(ตรี)

(จัตวา)
ขัด - ขัด
(ยศจัตวา)
ขั้ด
(ยศโท)
- -
ผิด - ผิด
(ยศจัตวา)
ผิ้ด
(ยศโท)
- -
สาบ - สาบ
(ยศจัตวา)
ส้าบ
(ยศโท)
- -
ฝาก - ฝาก
(ยศจัตวา)
ฝ้าก
(ยศโท)
- -

อักษรต่ำ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • อักษรต่ำ พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันด้วยวรรณยุกต์เอกเป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์โทเป็นเสียงตรี เช่น


คำ
(สามัญ)

(เอก)

(โท)

(ตรี)

(จัตวา)
ทา ทา
(ยศตรี)
- ท่า
(ยศตรี)
ท้า -
ลม ลม
(ยศตรี)
- ล่ม
(ยศเอก)
ล้ม
(ยศโท)
-
รอง รอง
(ยศตรี)
- ร่อง
(ยศเอก)
ร้อง
(ยศโท)
-
งาว งาว
(ยศตรี)
- ง่าว
(ยศเอก)
ง้าว
(ยศโท)
-

แต่ถ้าเป็นคำตาย จะผันได้แค่ ๒ เสียง คือ เสียงตรีกับเสียงโทในสระสั้น และเสียงโทกับเสียงตรีในสระยาว เช่น


คำ
(สามัญ)

(เอก)

(โท)

(ตรี)

(จัตวา)
คะ - - ค่ะ
(ยศเอก)
คะ
(ยศเอก)
-
งะ - - ง่ะ
(ยศเอก)
งะ
(ยศเอก)
-
คาด - - คาด
(ยศจัตวา)
ค้าด
(ยศโท)
-
งาด - - งาด
(ยศจัตวา)
ง้าด
(ยศโท)
-