การดูทอง
หน้าตา
ค่าสัมพันธ์ระหว่างทองเนื้อต่างๆ
- เรื่องเงินๆ ทองๆ และค่าของความเป็นทองตั้งแต่สมัยโบราณก่อนมา ที่เป็นทองคำที่แท้ คือทองเนื้อสี่ ไปจนถึงทองเนื้อเก้า (คือเนื้อเต็ม)
- ค่าตัวเลขทองเนื้อ ๔ คือ ๑๖ ,๒๗ , ๓๘ , ๔๙ , ๕๑ , ๖๒ , ๗๓ , ๘๔ , ๙๕
- ค่าตัวเลขทองเนื้อ ๕ คือ ๒๕ , ๓๖ , ๔๗ , ๕๘ , ๖๙ , ๗๑ , ๘๒ , ๙๓ , ๑๔
- ค่าตัวเลขทองเนื้อ ๖ คือ ๓๖ , ๔๗ , ๕๘ , ๖๙ , ๗๑ , ๘๒ , ๙๓ , ๑๔ , ๒๕ (ทองบวบ)
- ค่าตัวเลขทองเนื้อ ๗ คือ ๔๙ , ๕๑ , ๖๒ , ๗๓ , ๘๔ , ๙๕ , ๑๖ , ๒๗ , ๓๘
- ค่าตัวเลขทองเนื้อ ๘ คือ ๖๔ , ๗๕ , ๘๖ , ๙๗ , ๑๘ , ๒๙ , ๓๑ , ๔๒ , ๕๓
- ค่าตัวเลขทองเนื้อ ๙ คือ ๘๑ , ๙๒ , ๑๓ , ๒๔ , ๓๕ , ๔๖ , ๕๗ , ๖๘ , ๗๙ (เนื้อเต็ม)
• ๑ ๒ ๓ เป็นค่าโลหะเจือ ซึ่งไม่เป็นทอง นัยทางการแทนค่า หมายถึงค่าโลหะเงิน สามารถใช้ประกอบการพิจารณาว่าด้วยความสัมพันธ์วัตถุธรรมที่ใช้สะสม
- ๑๑๘ ,๑๕๓ ,๓๔๒ ,๓๓๓ ,๓๒๔ ,๔๑๔ ,๓๙๘ หมายถึงโลหะเงิน มี ๗ จุดผันด้วยกัน
- ๑๓๓ ,๓๖๑ ,๑๔๓ ,๓๕๑ ,๓๑๕ ,๓๖๖ ,๓๕๐ และ ๓๘๒ คือโลหะทอง มี ๘ จุดผัน
ตัวเลือกคำนวณ[1]
[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
ทายตามลำดับ[3]
[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]- ↑ ตำรานี้มีชื่อหลายอย่าง ทั้งใช้แทรกฤกษ์ แทรกธาตุได้ เป็นตำราประกอบ ตามฤกษ์ที่เคลื่อนไปตลอด แต่ธาตุ วัตถุธาตุนั่นมิเปลี่ยนอาจพิเคราะห์ตามภูมิกาลได้ทุกเมื่อ
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 ใช้พิเคราะห์อย่างตำราโฉลกยามตามดิถี ตำราโฉลกยามตามดิถีนั้นอีกชื่อหนึ่งว่า โคลงช้างแก้วพยากรณ์ ๘จุด กับ ๗จุด รวมแล้วเป็นดิถี เป็นปักษ์ ๑
- ↑ บทพิเคราะห์นั้นให้ใช้ไปในทางตำราโหราศาสตร์ฉบับหลวงวิศาลดรุณกรไว้เป็นบันทัดฐาน