ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์

จาก วิกิตำรา

ความหมาย[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

Nicholas Henry[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • กล่าวว่าเป็นวิชาที่สนใจโครงสร้างและพฤติกรรมของระบบราชการ

John Pfifner and Robert Presthus[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • ให้ความสนใจที่วิธีการนำค่านิยมไปปฏิบัติ

Herbert A. Simon[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • กล่าวว่า เป็นกิจกรรมของฝ่ายบริหาร การปกครองที่เป็นกลาง

สถานะ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • เป็นวิชาที่ขาดเอกลักษณ์
  • อุทัย เลาหวิเชียร กล่าวว่า
    • รปศ. ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ แม้จะมีการหยิบมาใช้แต่ไม่ชัดเจน และอานุภาคในการทำนาย เป็นแบบความน่าจะเป็น
    • รปศ. ไม่ใช่ศิลป์ ทั้งๆที่นักบริหารและศิลปินก็ใช้วิธีการทำงานของแต่ละคนเป็นเกณฑ์
  • นักบริหารบทบาท คือ การบริหารงานให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนด การปฏิบัติงานสามารถประเมินได้จากการบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

สรุป[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

รปศ. คือ จุดสนใจของการศึกษา ไม่มีฐานะเป็นศาสตร์เพื่อเป็นส่วนย่อยของวิชาใด

รปศ. เป็น สหวิทยาการ เป็นการนำความรู้ หลายๆ ศาสตร์มาอธิบายจุดที่ศึกษา

รปศ. เป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ เอาสังคมศาสตร์หลายๆ ศาสตร์มาปรับปรุงองค์การให้บรรลุเป้าหมาย

รปศ. พยายามสถาปนาเป็นวิชาชีพ แต่ต้องใช้เวลา

รปศ. คล้ายบริหารธุรกิจ ศึกษาการจัดการ และบริหารองค์การ ทรัพยากรมนุษย์ ต่างกันตรงตอบสนองต่อประชาชน (รปศ.) และตนเอง (ธุรกิจ)

เป้าหมายของวิชา[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • เป้าหมายสูงสุด คือ ความพึงพอใจของประชาชน
  • เป้าหมายกลาง คือ การที่มีข้าราชการที่ดี
  • เป้าหมายใกล้ตัว คือ สร้างข้าราชการให้มีประสิทธิภาพ ช่วยในการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ

ปรัชญาของวิชา[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ความหมาย[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

การแสวงหาความรู้ กับ ความจริง

ปรัชญา[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

Sophist[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ชั่วดีอยู่ที่ตัวเรา อำนาจทำให้เกิดความถูกต้อง

Plato[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

รัฐต้องจัดโครงสร้าง และสิ่งจูงใจให้เหมาะสม คือ

  1. ผู้ปกครอง
  2. ข้าราชการ นักรบ นักปกครอง
  3. พ่อค้า นักธุรกิจ เกษตรกร

Polybius[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ระบบตรวจสอบ ถ่วงดุลล นำไปสู่ผลลัพธ์สุดท้าย คือ ความยุติธรรม

John of Salisbury[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ผู้ปกครองเป็นตัวแทนพระเจ้า

St. Thomas Aquimas[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ทำผิดกฎหมายต้องมีมาตราการ Legal Means

Thomas Hobbes[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ทุกคนเป็นลูกพระเจ้า ใครเชื่อเทวสิทธิ์ เท่าไม่เอาพระเจ้า

John Looke[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

การปกครองที่ดีต้องมี 2 อำนาจ คือ นิติบัญญัติและบริหาร ต้องไม่อยู่ในมือคนเดียว

Montesquire[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

การปกครองที่ดีต้องมี 3 อำนาจ คือ นิติบัญญัติ บริหารและตุลาการ ต้องไม่อยู่ในมือคนเดียว

รัชกาลที่ 9[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ทศพิธราชธรรม

หลักการทั่วไป[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  1. เปลี่ยนแปลงได้ เช่น การเลิกทาส
  2. อาจเปลี่ยนถ้าปัญหาไม่ได้แก้ไข หรือลดลง เช่น การรวมอำนาจ เป็นการกระจายอำนาจ
  3. การตีความของมนุษย์จากสภาวะหนึ่ง เช่น เชื่อว่าโลกแบน
  4. พิจารณาผลลัพธ์ขั้นสุดท้าย (บริหารภาครัฐ บริหารผลลัพธ์ คำนาจ ขั้นปลายเสมอ)

ปรัชญา วรเดช จันทรศร[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  1. การบริหารการเมือง
  2. วิทยาการจัดการ
  3. นโยบายสาธารณะ
  4. พฤติกรรมองค์การ
  5. การบริหารเปรียบเทียบและพัฒนา
  6. ทางเลือกสาธารณะ
  7. การแปรสภาพกิจกรรมรัฐเป็นเอกชน
  8. การพัฒนาการบริหาร

ขอบข่าย[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

อุทัย เลาหวิเชียร[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

3 ขอบข่าย

  1. การเมืองนโยบายสาธารณะ
  2. ทฤษฎีองค์การ
  3. เทคนิคการบรหิาร

กุลธน ธนพงศธร[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

สนับสนุนความคิดของคุณอุทัยแต่เพิ่ม การวิเคราะห์นโยบาย / ระบบ / การวางแผนและประเมินผล

สรุป[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

รปศ. เป็นศาสตร์แขนงหนึ่งในสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยใช้ความรู้สังคมศาสตร์มาปรับปรุง มิได้เป็นศาสตร์บริสุทธิ์ เป็น สหวิทยาการ มีขอบเขตกว้างขวางครอบคลุมนโยบายสาธารณะ การบริหารงานบุคคล การคลัง งบประมาณ องค์การและการบริหารงานต่างๆ

จุดหมายถือ ความผาสุกของประชาชน