ฉายาประกาศิต

จาก วิกิตำรา
ทายฉัตรฉายา ราศี

ทำนายฉายาประกาศิต

ฉัตรฉายา +
ฉายาสถิร์ ๐
ฉายากลับ ๒,๓,๕,๗
ฉายาแปลง ๑,๔,๖,ฉายาประกาศิต (๐)

ทายเลศทิศ อนุทิศ ทายฉายาตามวิเศษนาม..

ทายฉัตรฉายาประกาศิต[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ใช้เป็นเลศสำหรับทายฉายา หรือเป็นแบบผังหรือระเบียบสำหรับเพื่อตรวจดูวาระ ทั้งที่เป็นโคจรทิศ และทั้งที่เป็นโคจรไปในอนุทิศ ว่าให้เกิดประสงค์ร้ายดี ถึงคุณโทษแก่วิเศษนามนั้นอย่างไรได้บ้าง โดยให้สรุปเป็นเรื่องหลักเสียก่อนว่า ให้พยากรณ์ถึง ทิศ อนุทิศ และคุณ-โทษตามฉายาแห่งวิเศษนาม ในการประกอบนั้นกำหนดให้ดูรายบัญชีเดือน และให้ดูรายชื่อในบทสัตวภูตตามกำหนดของคาบเวลาแห่งวันนั้นๆ เมื่อประกอบตามนัยต่างๆแล้ว ให้เป็น ฉัตรฉายาประกาศิต.

  • ตัวอย่างที่ ๑

๑๓ นาฬิกา ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

นามฉายาสถิร วันนี้ ย่อมได้ที่ ตรามุสิก ด้วยนัยที่ท่องสาธยายบรรพ์ต่างๆนั้น ว่าต้องเป็นโดยบุรพภาคทิศ ฉายากลับนั้นเป็น ๕ แต่หากประกอบแก่ฉัตรหันตราแล้ว ย่อมต้องนับผู้นำกะผู้ข้าซึ่งตามกันอยู่นั้นว่า มี ๓ เป็นฉายา คือ ๕ นั้น มีฉายาเลข ตามฉายากลับนั้น เป็น ๓

ฉัตรฉายาในที่มุขมณฑลสถิร ย่อมนับให้เป็นมุสิก ขับรัตนรังสี ด้วยรัศมีราศีแห่งสัตวะ และภูตในราศีมีน นับในที่ไม่เกิน ๓๒ ในตารางธาตุนั้นเป็นข้างปลาย ได้ฉายาแปลงในฉายาเลขเป็นที่ ๔ ขับรัศมีราศีแห่งสัตวะและภูตเป็นที่ ๖ หากเข้าที่ยักย้ายด้วยนัยอื่นอีก ก็จงได้ประกอบผังคำนวณ แล้วก็ทำพยากรณ์ทำนาย ตามแบบพยากรณ์ในระเบียบโหร ที่ชื่อว่า ฉัตรฉายาประกาศิต ฉะนั้น.

  • ตัวอย่างที่ ๒

๑๐ นาฬิกา ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

นามฉายาสถิร วันนี้ ย่อมได้ที่ ตรามัจฉา ด้วยนัยที่ท่องสาธยายบรรพ์ต่างๆนั้น ว่าต้องเป็นโดยทิศอีสาน ฉายากลับนั้นเป็น ๔ แต่หากประกอบแก่ฉัตรหันตราแล้ว ย่อมต้องนับผู้นำกะผู้ข้าซึ่งตามกันอยู่นั้นว่า มี ๑ เป็นฉายา คือ ๔ นั้น มีฉายาเลข ตามฉายากลับนั้น เป็น ๑

ฉัตรฉายาในที่มุขมณฑลสถิร ย่อมนับให้เป็นมัจฉา ขับรัตนรังสี ด้วยรัศมีราศีแห่งสัตวะ และภูตในราศีเมษ นับในที่ไม่เกิน ๓๖ ในตารางธาตุนั้นเป็นข้างปลาย ได้ฉายาแปลงในฉายาเลขเป็นที่ ๓ ขับรัศมีราศีแห่งสัตวะและภูตเป็นที่ ๕ หากเข้าที่ยักย้ายด้วยนัยอื่นอีก ก็จงได้ประกอบผังคำนวณ แล้วก็ทำพยากรณ์ทำนาย ตามแบบพยากรณ์ในระเบียบโหร ที่ชื่อว่า ฉัตรฉายาประกาศิต ฉะนั้น.

  • ตัวอย่างที่ ๓

๑๘ นาฬิกา ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

นามฉายาสถิร วันนี้ ย่อมได้ที่ ตราเมณฑก ด้วยนัยที่ท่องสาธยายบรรพ์ต่างๆนั้น ว่าต้องเป็นโดยประจิมภาคทิศ ฉายากลับนั้นเป็น ๒ แต่หากประกอบแก่ฉัตรหันตราแล้ว ย่อมต้องนับผู้นำกะผู้ข้าซึ่งตามกันอยู่นั้นว่า มี ๓ เป็นฉายา คือ ๒ นั้น มีฉายาเลข ตามฉายากลับนั้น เป็น ๓

ฉัตรฉายาในที่มุขมณฑลสถิร ย่อมนับให้เป็นเมณฑก ขับรัตนรังสี ด้วยรัศมีราศีแห่งสัตวะ และภูตในราศีพฤษภ นับในที่ไม่เกิน ๑๓ ในตารางธาตุนั้นเป็นข้างปลาย ได้ฉายาแปลงในฉายาเลขเป็นที่ ๔ ขับรัศมีราศีแห่งสัตวะและภูตเป็นที่ ๑ หากเข้าที่ยักย้ายด้วยนัยอื่นอีก ก็จงได้ประกอบผังคำนวณ แล้วก็ทำพยากรณ์ทำนาย ตามแบบพยากรณ์ในระเบียบโหร ที่ชื่อว่า ฉัตรฉายาประกาศิต ฉะนั้น.

ทายฉายานักบวช[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

บทเล็กน้อยที่เป็นอนุทินศัพท์อย่างหนึ่งที่นักบวชควรจะพอรู้ด้วย ก็อาจตามประกอบได้ ดังนี้ แต่ทีนี้ก็อาจเป็นแต่ภาษาไทยกระทำวัตถาอัตราจรในภาคที่ถือเป็นการชำนาญนั้นแล้วเสียก่อน แต่คงยังไม่ถึงต้องชำนาญเกี่ยวแก่พระบาลีก็ได้ ถือเฉพาะเพียงแค่รู้นาม และฉายาของตนตามแต่ที่จะได้มาจากบวชแล้วคราวๆหนึ่งนั้น

ตัวอย่าง เช่น ภาคไทย มาจากฉายา สุเขธิโต ดังนี้เป็นต้น บทอักษรวรรค ย่อมว่าย่อลง ที่ สะ ขะ ธะ ตะ. สัททวรรคในที่ภาคไทยดังนี้แล้ว ย่อมเจริญมาในอุเบกขาธรรมเป็นอาทิ จากนั้นพยัญชนะอื่นต่อไปซึ่งตามมาแต่สิกขาบท เมื่อชำระแล้วในทิศหลักทิศรอง ประกอบด้วยไตรรัตนะโคจร และอนุจรทิศก็กระทำความว่าลงได้เช่นกัน ตามตัวอย่าง แต่มีข้อเพิ่มเติม ว่า ไม่เพียงแค่นั้น เพราะต้องเข้าแต่กระทำอุตสาหะยักย้ายเป็นหลายนัย ให้เป็นประมาณอย่างยิ่งขึ้นไปกว่าเก่า คือให้ขึ้นในทิศเบื้องบนและทำกลับลงเบื้องล่างด้วย ฉายากลับในฐานสถิรนั้นจึงจะว่าจบลงในบาทพระคาถาที่ว่าด้วยเรื่องของบารมีสิบ เช่นว่าในเรื่องขันติธรรมเป็นต้น จนถึงแก่เรื่องอุเบกขาธรรม ดังกล่าวแล้ว.

อีกอย่างอีกประการหนึ่งนั้น ว่า เรียกชื่อว่า วิธี ทายเลศ ทายฉายา ก็ดี แต่เมื่อถึงกลี ประสพโทษแต่กลียุค ประกอบกลับมาเป็นแต่ด้วยเข้านำการณ์แต่ทุรพล ได้มาเฉพาะแต่เหตุวิบัติอยู่ ก็ให้กล่าวทายนั้นๆ กลับคืนเป็น ประณามฉายา ด้วยนัยตามที่ได้ปรากฏแล้วดังที่กล่าวอยู่ก่อน