ข้ามไปเนื้อหา

ตำราอาหาร:ฉลากหวาน มัน เค็ม

จาก วิกิตำรา

ฉลากหวาน มัน เค็ม (ฉลาก GDA)[1] คือฉลากบนบรรจุภัณฑ์ ประเภทอาหารสำเร็จรูปพร้อมบริโภคทันที เช่นข้าวเกรียบ มันฝรั่งทอด เวเฟอร์ ขนมปังบิสกิต คุกกี้ และอื่น ๆ ฉลากหวาน มัน เค็ม แสดงถึงการแบ่งบริโภค หรือบริโภคในครั้งเดียว ฉลากแจ้งปริมาณพลังงาน น้ำตาล ไขมัน และโซเดียม เพื่อผู้บริโภคที่ต้องระมัดระวังในการเลือกรับประทานอาหาร

การอ่านฉลาก

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

การอ่านฉลากกำหนดให้ทราบสิ่งที่ควรรู้ ที่ปรากฏอยู่ข้างกล่อง ซอง หรือถุงบรรจุภัณฑ์นั้น เบื้องต้น 4 ประการ

  1. เพื่อรู้ถึงค่าพลังงาน
ต่อวัน ผู้ชาย ผู้หญิง
พลังงาน/kcal 2,500 2,000
น้ำตาล/g 65 50
ไขมัน/g[2] 3.5 2
เกลือ/g 2.4 2.4
  1. รู้ค่าน้ำตาล
  2. รู้ค่าไขมัน
  3. รู้ค่าเกลือ คือ โซเดียม ในอาหารที่อยู่ในบรรจุภัณฑ์

วิธีการเลือก

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
  1. เลือกที่มีค่าพลังงาน
  2. เลือกที่มีค่าน้ำตาล ไขมัน และความเค็ม น้อย
  3. เลือกโดยพิจาณาระวังต่อโรค เช่นโรคความดันโลหิต โรคเบาหวาน โรคหัวใจ

คู่มือภาษาอังกฤษ

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
  1. Guideline Daily Amounts
  2. ผู้ป่วยด้วยโรคจากไขมันในระดับที่อันตรายจะมีค่าไขมัน LDL-C ในระดับที่สูงกว่า 160

ต้มยำแซบ ระดับการพัฒนา: 100% (ณ วันที่ 10 ก.ย. 2548) พะแนงไก่ ระดับการพัฒนา: 100% (ณ วันที่ 6 ต.ค. 2548) หมี่กรอบสูตรคุณยายเกื้อ ระดับการพัฒนา: 100% (ณ วันที่ 17 พ.ค. 2549)