ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Pitpisit/กระบะทราย/รปศ. เบื้องต้น/บทที่ 1

จาก วิกิตำรา
  • กล่าวว่าเป็นวิชาที่สนใจโครงสร้างและพฤติกรรมของระบบราชการ

John Pfifner and Robert Presthus

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
  • ให้ความสนใจที่วิธีการนำค่านิยมไปปฏิบัติ
  • กล่าวว่า เป็นกิจกรรมของฝ่ายบริหาร การปกครองที่เป็นกลาง
  • เป็นวิชาที่ขาดเอกลักษณ์
  • อุทัย เลาหวิเชียร กล่าวว่า
    • รปศ. ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ แม้จะมีการหยิบมาใช้แต่ไม่ชัดเจน และอานุภาคในการทำนาย เป็นแบบความน่าจะเป็น
    • รปศ. ไม่ใช่ศิลป์ ทั้งๆที่นักบริหารและศิลปินก็ใช้วิธีการทำงานของแต่ละคนเป็นเกณฑ์
  • นักบริหารบทบาท คือ การบริหารงานให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนด การปฏิบัติงานสามารถประเมินได้จากการบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

รปศ. คือ จุดสนใจของการศึกษา ไม่มีฐานะเป็นศาสตร์เพื่อเป็นส่วนย่อยของวิชาใด

รปศ. เป็น สหวิทยาการ เป็นการนำความรู้ หลายๆ ศาสตร์มาอธิบายจุดที่ศึกษา

รปศ. เป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ เอาสังคมศาสตร์หลายๆ ศาสตร์มาปรับปรุงองค์การให้บรรลุเป้าหมาย

รปศ. พยายามสถาปนาเป็นวิชาชีพ แต่ต้องใช้เวลา

รปศ. คล้ายบริหารธุรกิจ ศึกษาการจัดการ และบริหารองค์การ ทรัพยากรมนุษย์ ต่างกันตรงตอบสนองต่อประชาชน (รปศ.) และตนเอง (ธุรกิจ)

เป้าหมายของวิชา

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
  • เป้าหมายสูงสุด คือ ความพึงพอใจของประชาชน
  • เป้าหมายกลาง คือ การที่มีข้าราชการที่ดี
  • เป้าหมายใกล้ตัว คือ สร้างข้าราชการให้มีประสิทธิภาพ ช่วยในการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ

ปรัชญาของวิชา

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

การแสวงหาความรู้ กับ ความจริง

ชั่วดีอยู่ที่ตัวเรา อำนาจทำให้เกิดความถูกต้อง

รัฐต้องจัดโครงสร้าง และสิ่งจูงใจให้เหมาะสม คือ

  1. ผู้ปกครอง
  2. ข้าราชการ นักรบ นักปกครอง
  3. พ่อค้า นักธุรกิจ เกษตรกร

ระบบตรวจสอบ ถ่วงดุลล นำไปสู่ผลลัพธ์สุดท้าย คือ ความยุติธรรม

ผู้ปกครองเป็นตัวแทนพระเจ้า

ทำผิดกฎหมายต้องมีมาตราการ Legal Means

ทุกคนเป็นลูกพระเจ้า ใครเชื่อเทวสิทธิ์ เท่าไม่เอาพระเจ้า

การปกครองที่ดีต้องมี 2 อำนาจ คือ นิติบัญญัติและบริหาร ต้องไม่อยู่ในมือคนเดียว

การปกครองที่ดีต้องมี 3 อำนาจ คือ นิติบัญญัติ บริหารและตุลาการ ต้องไม่อยู่ในมือคนเดียว

รัชกาลที่ 9

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ทศพิธราชธรรม

หลักการทั่วไป

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
  1. เปลี่ยนแปลงได้ เช่น การเลิกทาส
  2. อาจเปลี่ยนถ้าปัญหาไม่ได้แก้ไข หรือลดลง เช่น การรวมอำนาจ เป็นการกระจายอำนาจ
  3. การตีความของมนุษย์จากสภาวะหนึ่ง เช่น เชื่อว่าโลกแบน
  4. พิจารณาผลลัพธ์ขั้นสุดท้าย (บริหารภาครัฐ บริหารผลลัพธ์ คำนาจ ขั้นปลายเสมอ)

ปรัชญา วรเดช จันทรศร

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
  1. การบริหารการเมือง
  2. วิทยาการจัดการ
  3. นโยบายสาธารณะ
  4. พฤติกรรมองค์การ
  5. การบริหารเปรียบเทียบและพัฒนา
  6. ทางเลือกสาธารณะ
  7. การแปรสภาพกิจกรรมรัฐเป็นเอกชน
  8. การพัฒนาการบริหาร

อุทัย เลาหวิเชียร

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

3 ขอบข่าย

  1. การเมืองนโยบายสาธารณะ
  2. ทฤษฎีองค์การ
  3. เทคนิคการบรหิาร

กุลธน ธนพงศธร

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

สนับสนุนความคิดของคุณอุทัยแต่เพิ่ม การวิเคราะห์นโยบาย / ระบบ / การวางแผนและประเมินผล

รปศ. เป็นศาสตร์แขนงหนึ่งในสังคมศาสตร์ประยุกต์ โดยใช้ความรู้สังคมศาสตร์มาปรับปรุง มิได้เป็นศาสตร์บริสุทธิ์ เป็น สหวิทยาการ มีขอบเขตกว้างขวางครอบคลุมนโยบายสาธารณะ การบริหารงานบุคคล การคลัง งบประมาณ องค์การและการบริหารงานต่างๆ

จุดหมายถือ ความผาสุกของประชาชน