ข้ามไปเนื้อหา

เทคนิคการนำเสนอพาวเวอร์พอยต์/ฟอนต์และสี

จาก วิกิตำรา

ฟอนต์ (เปรียบเทียบขนาด)

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
  • Angsana UPC 24: ตัวหนังสือควรจะอ่านง่าย  (Readable) และชัดเจน (Clear) ไม่บางเกินไป (Not Too Thin) และ ภาษาไทยกับ English ควรจะตัวเท่ากัน
  • Angsana New 24: ตัวหนังสือควรจะอ่านง่าย (Readable) และชัดเจน (Clear) ไม่บางเกินไป (Not Too Thin) และ ภาษาไทยกับ English ควรจะตัวเท่ากัน
  • Browallia New 24: ตัวหนังสือควรจะอ่านง่าย  (Readable) และชัดเจน (Clear) ไม่บางเกินไป (Not Too Thin) และ ภาษาไทยกับ English ควรจะตัวเท่ากัน
  • Cordia New 24: ตัวหนังสือควรจะอ่านง่าย (Readable) และชัดเจน (Clear) ไม่บางเกินไป (Not Too Thin) และ ภาษาไทยกับ English ควรจะตัวเท่ากัน
  • Tahoma 18: ตัวหนังสือควรจะอ่านง่าย  (Readable) และชัดเจน (Clear) ไม่บางเกินไป (Not Too Thin) และ ภาษาไทยกับ English ควรจะตัวเท่ากัน
  • อย่าใช้ฟอนต์หลายแบบ อย่างมากสองต่อ slide
  • ขนาดของ bullet แรกไม่ควรเล็กกว่า ๒๘
  • ขนาดของ bullet ที่สองไม่ควรเล็กกว่า ๒๔
  • ไม่ควรใช้ bullet ขนาดเล็กกว่า ๑๖ ในทุกกรณี

การใช้ตัวอักษร

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

การใช้ตัวพิมพ์ใหญ่

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ในภาษาอังกฤษ อย่าใช้ทุกตัวเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ ALL CAPITAL LETTERS เพราะอ่านยาก ใช้เฉพาะ คำย่อ ไม่ควรใช้เน้นคำ

การใช้ตัวเอียง

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
  • ใช้สำหรับคำพูดที่อ้างจากผู้อื่น “quotes”
  • ใช้สำหรับ highlight แนวคิดหรือคำสำคัญ
  • ใช้สำหรับชื่อเอกสารอ้างอิง titles
  • การทำ bullet ไม่จำเป็นต้องใส่ประโยคเต็มอย่างละเอียด
  • ใส่เฉพาะคำสั้นๆ กระชับ
  • ใช้เป็นแนวบอกผู้ฟังว่าจะพูดอะไรเท่านั้น
  • ควรอยู่ภายในบรรทัดเดียวหรือสองบรรทัดอย่างมาก
  • ในหนึ่งหน้า
  • ไม่ควรมีเกิน  6 bullets
  • ถ้ามีรูปหรือคำยาวๆ ก็ไม่ควรมีเกิน 5 bullets
  • ถ้ามีข้อความมาก จะไม่มีใครอ่าน
  • เพราะผู้ฟังจะคาดเดาว่า “สิ่งที่คุณกำลังพูดไม่ต่างจากที่คุณเขียน”

สีในเชิงจิตวิทยา

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

สีน้ำเงินเข้ม

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ความน่าเชื่อถือ แน่นอน

ความโชคดี กระตือรือร้น แต่ขาดความยับยั้ง

ความสะอาด แต่ขาดเรื่องการปฏิบัติ

ความลึกลับ ความเชื่อ แต่อาจเติมเรื่องความกลัว

สดใส แต่ขาดความหนักแน่น

เรียบง่าย สบาย แต่ขาดอารมณ์การทำงาน

ออกเชิงผู้หญิง หวาน

กระตือรือร้น น่าสนใจ แต่อ่านยาก

การให้สีพื้นและสีตัวอักขระ

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
  • ตัวหนังสือขาวบนพื้นดำ จะไม่ดีสำหรับห้องขนาดผู้ฟังหลังห้องไกลกว่า ๖ เมตร
  • อย่าใช้ฟอนต์สีเข้มบนพื้นเข้ม
  • อย่าใช้ฟอนต์สีอ่อนบนพื้นสีอ่อน
  • อย่าใส่สีพื้นเข้มในห้องมืด
  • แสงจากฉากหลังสีขาวมีพลังงานมากกว่าแสงจากตัวหนังสือสีขาว