เพราะวาจา
บรรยายสังเขป คำว่า “เพราะวาจา”
เรื่องเพราะวาจานั้น เดิมมีเรื่องอยู่ว่า เพราะถ้อยคำที่ให้กลับยินดี เป็นต้น ซึ่งได้แก่ ปิยะวาจา เรื่องที่ให้ชื่อว่า ได้เพราะวาจา ก็เพราะจะให้ได้อย่างคำที่ว่า ปากเป็นเอก เลขเป็นโท อย่างหนึ่งด้วย แต่ที่จะให้เป็นเลิศต้องนับที่จะเป็นวาจาสุภาษิต หรือที่อันจะเป็นได้ไปแก่พยากรณ์ แก่ปวงนิกร ในภพหน้า หรือในภายหน้า ซึ่งในคัมภีร์พระไตรปิฎก ที่ซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสพระดำรัสเป็นพยากรณ์ไว้ ได้ค้นหามา มีดังต่อไปนี้ ซึ่งได้มีมากถึงกว่า ห้าสิบตัวอย่างในเรื่อง คือ
ปาก ส่วนข้อมูล: | |
๑. เรื่องพระพุทธเจ้าตรัสพยากรณ์ปัญหานี้แล้ว แก่ใคร?
๒. เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสพยากรณ์แล้วฉันใด ก็ควรทรงจำไว้แล้วอย่างนั้น
๓. ทรงตรัสพยากรณ์นั้นๆ แล้ว ด้วยเหตุ?
๔. ทรงตรัสพยากรณ์ตามลำดับปัญหา
๕. ตรัสพยากรณ์โลก
๖. ตรัสพยากรณ์มรรค-ผล (นิพพาน)
๗. ตรัสถึงภพหน้าของสัตว์ เพื่อให้ชนในภายหลังมีใจประพฤติตาม
๘. ตรัสพยากรณ์ถึงสิ่งที่วางเฉย(อุเบกขา) ควรวางเฉย (ไม่ป็นอันพยากรณ์)
แล้วทรงตรัสกล่าวถึงเพราะคนกล่าววาจาดี และเพราะกล่าวในที่เหมาะสมเป็นต้น เรื่องตรัสพยากรณ์นั้นได้ปรากฏนับถือเป็นแน่นอนกันมาอย่างชัดเจน ว่า เว้นแต่ตถาคตพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ในที่อื่นและผู้อื่นนั้นก็เป็นแต่พูดเดา และพูดกล่าวถึงแต่ในสิ่งที่ไม่ได้มีไม่ได้เป็นอยู่ตามความเป็นจริง ย่อมไม่ให้นับถือว่าเป็นคำพยากรณ์ ย่อมถือกันแต่ว่าเป็นของเปล่าๆ สักแต่ว่าเป็นคนพูดมีเสียงให้ได้ยินเท่านั้น เพราะอาทิเป็นแต่เสียงแล้ว ๆทั่วไป ย่อมจะต้องมีมากมายเกลื่อนกล่นเป็นจำนวนมาก ฉะนั้นจึงไม่อาจจะให้ถือว่าเป็นกำหนดพยากรณ์ตามความหมายได้
เรื่องวินิจฉัยศัพท์ด้วยเกณฑ์ตารางแสดงคำศัพท์ต่อไปนี้ แสดงถึง วาจา คำพูด ตลอดถึงสิ่งแสดงไว้ว่าเป็นการได้สดับซึ่งรับตามบทที่ปรากฏ ตามความหมายในพระไตรปิฎก ซึ่งได้แก่ ความว่า, หมายถึง, ได้แก่, ดังกล่าว, คือ (วาจา). ซึ่งได้ค้นไปกว่าตรงศัพท์ตามตัวมานั้นที่มีกำหนดจำกัดไว้แค่ว่า แปลว่า เพื่อให้ค้นไปยิ่งขึ้นให้เสริมกันให้ถึงแก่ความเป็นตำรา ก็จะต้องไม่เป็นกำหนดแค่นั้น เพื่อที่ควรศึกษาได้แล้วจะได้ทำไว้เป็นสิ่งประดับเสริมพูนความรู้ได้มากต่อไป สำหรับเฉพาะในชั้นเรียนที่เรียนกันมาเกี่ยวแก่ภาษาตามคำศัพท์ ซึ่งปรากฏมาแล้วเป็นหนังสือบาลีตามตอนที่มีอรรถกถาประกอบไว้เป็นบรรยาย
ว่าด้วยคำศัพท์ เรื่อง คำพูด (ด้วยวจีกรรม) | ||||||
ลำดับที่ | คำศัพท์ | อนุทินศัพท์ ความหมาย/หรือนิยามศัพท์ | ||||
---|---|---|---|---|---|---|
๑. | นมสฺสามิ | ความว่า ข้าพระองค์ขอนมัสการด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยจิต | ||||
๒. | ปยุตวาจา | ความว่า วาจาภิกษุ เนื่องด้วยปัจจัย น้อมบิณฑบาตในข้อที่มาในบาลี ว่า นมฺหิ เกนจิ อุปสงฺกมิตพฺโพ อญฺตฺร เอเกน ปิณฺฑปาตนีหารเกน | ||||
๓. | วาจา วจี เภโท | วาจา การแสดงความหมายให้รู้ทางวาจา | ||||
๔. | ยา ตาย วาจาย วิญฺตฺติ | แสดงให้รู้ความหมายด้วยวาจานั้น (ประกอบวาจานั้น จึงตรัส) | ||||
๕. | เอกวาจาย เทเสยฺย | ความว่า ภิกษุพึงแสดงด้วยวาจา อันเดียว อย่างนี้. . . | ||||
๖. | - | - |