ข้ามไปเนื้อหา

ภาษาบาลี/สัพนาม

จาก วิกิตำรา

สัพพนามคือคำที่ใช้เรียกแทนคำนาม เพื่อที่จะได้ไม่ต้องเอ่ยคำนามนั้นซ้ำๆ หรือใช้เรียกสิ่งที่ไม่ได้ต้องการจะออกชื่ออย่างชัดเจน
สัพพนามแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ

  1. ปุริสสัพพนาม หรือบุรุษสรรพนาม คือคำพูดที่ใช้แทนตัวบุรุษบุคคล สัตว์ สิ่งของ ใช้เป็นคำหลักของนามวลี
    บุรุษสรรพนามแบ่งเป็น บุรุษที่หนึ่ง, สอง และ สาม แต่ความหมายของแต่ละบุรุษในภาษาบาลีนั้น อาจจะต่างไปจากที่เราเคยเข้าใจในภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษดังนี้คือ
    1. ปฐมบุรุษ (1st) หมายถึง ผู้ที่ไม่ใช่ผู้พูดและผู้ที่พูดอยู่ด้วย หรือแปลว่า เขา เรียกว่าเป็น ศัพท์
    2. มัธยมบุรุษ (2nd) หมายถึง ผู้ที่พูดอยู่ด้วย หรือแปลว่า เธอ เรียกว่าเป็น ตุมฺห ศัพท์
    3. (ตฺวํ)
    4. อุตตมบุรุษ (3rd) หมายถึง ผู้พูด หรือแปลว่า ฉัน เรียกว่าเป็น อมฺห ศัพท์ (อหํ)
  2. วิเสสนสัพพนาม เป็นสรรพนามที่ทำหน้าที่ขยายนามเหมือนคุณนาม เพื่อบอกว่านามตัวไหนที่กำลังกล่าวถึงอยู่ เมื่อมันเป็นตัวขยาย ดังนั้นเวลาที่แจกวิภัตติ จึงต้องแจกให้มีวิภัตติเสมอกับนามที่มันขยายด้วย วิเสสนสัพพนามแบ่งเป็นสองประเภท
    1. นิยมสัพพนาม เป็นคำขยายที่เจาะจงบอกให้เห็นอย่างแน่ชัด ว่ากำลังกล่าวถึงนามตัวไหน ประกอบด้วย
      1. อิม ศัพท์ (อยํ) แปลว่า นี้
      2. เอต ศัพท์ และ ต คุณนาม แปลว่า นั้น
      3. อมุ ศัพท์ (อมุก คุณนาม, อสุก คุณนาม (อมุ คุณนาม + -ก ปัจจัย หรือ -ก สกรรถ)) แปลว่า โน้น
    2. อนิยมสัพพนาม เป็นคำขยาย ที่ไม่ได้บอก ไม่ได้แสดงให้เห็นแน่ชัดว่าสิ่งที่กล่าวถึงอยู่ที่ไหน พอจะแบ่งได้สองกลุ่ม
      1. ศัพท์ สำหรับกล่าวถึงอันใดก็ได้ ทั่วไป
      2. กึ ศัพท์ สำหรับใช้ในการถาม

อย่างไรก็ตามในบางรูปประโยคของภาษาบาลี เมื่อนำ และ ศัพท์ มาใช้คู่กัน มันจะทำหน้าที่คล้ายกับเป็น นิยมสัพพนาม ได้

ปุริสสัพนาม (Personal Pronouns)

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ตารางวิภัตติสำหรับ ต ศัพท์ (เขา) (1st Person)

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
  (Sg.) (Pl.)
1.ปฐมา (Nom.)
(m.)
โส เต
(n.)
ตํ, นํ เต, ตานิ
(f). (ลง -อา ปัจจัย)
สา ตา
2.ทุติยา (Acc.)
(m.)
ตํ, นํ เต, เน
(n.)
ตํ, นํ เต, ตานิ
(f).
ตํ, นํ ตา
3.ตติยา (Inst.)
(m.)
เตน เตหิ
(n.)
เตน เตหิ
(f).
ตาย ตาหิ
4.จตุตถี (Dat.)
(m.)
ตสฺส, อสฺส เตสํ, เตสานํ, เนสํ, เนสานํ
(n.)
ตสฺส, อสฺส เตสํ, เตสานํ, เนสํ, เนสานํ
(f).
ตสฺสา, อสฺสา, ติสฺสา, ติสฺสาย ตาสํ, ตาสานํ
5.ปัญจมี (Abla.)
(m.)
ตสฺมา, อสฺมา, ตมฺหา เตหิ
(n.)
ตสฺมา, อสฺมา, ตมฺหา เตหิ
(f).
ตาย ตาหิ
6.ฉัฏฐี (Gen.)
(m.)
ตสฺส, อสฺส เตสํ, เตสานํ, เนสํ, เนสานํ
(n.)
ตสฺส, อสฺส เตสํ, เตสานํ, เนสํ, เนสานํ
(f).
ตสฺสา, อสฺสา, ติสฺสา, ติสฺสาย ตาสํ, ตาสานํ
7.สัตตมี (Loc.)
(m.)
ตสฺมิํ, อสฺมิํ, ตมฺหิ เตสุ
(n.)
ตสฺมิํ, อสฺมิํ, ตมฺหิ เตสุ
(f).
ตายํ, อาสฺสํ, อสฺสํ, ติสฺสํ ตาสุ


ตารางวิภัตติสำหรับ ตุมฺห/ตฺวํ ศัพท์ (เธอ) (2nd Person)

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
  (Sg.) (Pl.)
1.ปฐมา (Nom.)
(m.) (f.)
ตฺวํ, ตุวํ ตุมฺเห, โว
2.ทุติยา (Acc.)
(m.) (f.)
ตํ, ตฺวํ, ตุวํ ตุมฺเห, โว
3.ตติยา (Inst.)
(m.) (f.)
ตยา, ตฺวยา, เต ตุมฺเหหิ, โว
4.จตุตถี (Dat.)
(m.) (f.)
ตุยฺหํ, ตุมฺหํ, ตว, เต ตุมฺหากํ, โว
5.ปัญจมี (Abla.)
(m.) (f.)
ตยา ตุมฺเหหิ, โว
6.ฉัฏฐี (Gen.)
(m.) (f.)
ตุยฺหํ, ตุมฺหํ, ตว, เต ตุมฺหากํ, โว
7.สัตตมี (Loc.)
(m.) (f.)
ตยิ, ตฺวยิ ตุมฺเหสุ


ตารางวิภัตติสำหรับ อมฺห/อหํ ศัพท์ (ฉัน) (3rd Person)

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
  (Sg.) (Pl.)
1.ปฐมา (Nom.)
(m.) (f.)
อหํ มยํ, โน
2.ทุติยา (Acc.)
(m.) (f.)
มํ, มมํ อมฺเห, โน
3.ตติยา (Inst.)
(m.) (f.)
มยา, เม อมฺเหหิ, โน
4.จตุตถี (Dat.)
(m.) (f.)
มยุหํ, อมฺหํ, มม, มมํ, เม อมฺหากํ, อสฺมากํ, โน
5.ปัญจมี (Abla.)
(m.) (f.)
มยา อมฺเหหิ, โน
6.ฉัฏฐี (Gen.)
(m.) (f.)
มยุหํ, อมฺหํ, มม, มมํ, เม อมฺหากํ, อสฺมากํ, โน
7.สัตตมี (Loc.)
(m.) (f.)
มยิ อมฺเหสุ

 


นิยมวิเสสนสัพพนาม (คุณนาม) (Demonstrative Pronouns)

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ตารางวิภัตติสำหรับ อิม ศัพท์ (นี้)

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
  (Sg.) (Pl.)
1.ปฐมา (Nom.)
(m.)
อยํ อิเม
(n.)
อิทํ อิมานิ
(f).
อยํ อิมา
2.ทุติยา (Acc.)
(m.)
อิมํ อิเม
(n.)
อิทํ, อิมํ อิมานิ
(f).
อิมํ อิมา
3.ตติยา (Inst.)
(m.)
อิมินา, อเนน อิเมหิ
(n.)
อิมินา, อเนน อิเมหิ
(f).
อิมาย อิมาหิ
4.จตุตถี (Dat.)
(m.)
อิมสฺส, อสฺส อิเมสํ, อิเมสานํ
(n.)
อิมสฺส, อสฺส อิเมสํ, อิเมสานํ
(f).
อิมิสฺสา, อิมิสฺสาย, อสฺสา อิมาสํ, อิมาสานํ
5.ปัญจมี (Abla.)
(m.)
อิมสฺมา, อิมมฺหา, อสฺมา อิเมหิ
(n.)
อิมสฺมา, อิมมฺหา, อสฺมา อิเมหิ
(f).
อิมาย อิมาหิ
6.ฉัฏฐี (Gen.)
(m.)
อิมสฺส, อสฺส อิเมสํ, อิเมสานํ
(n.)
อิมสฺส, อสฺส อิเมสํ, อิเมสานํ
(f).
อิมิสฺสา, อิมิสฺสาย, อสฺสา อิมาสํ, อิมาสานํ
7.สัตตมี (Loc.)
(m.)
อิมสฺมิํ, อิมมฺหิ, อสฺมิํ อิเมสุ
(n.)
อิมสฺมิํ, อมมฺหิ, อสฺมิํ อิเมสุ
(f).
อิมิสฺสํ, อสฺสํ อิมาสุ


ตารางวิภัตติสำหรับ เอต ศัพท์ และ ต คุณนาม (นั้น)

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
  (Sg.) (Pl.)
1.ปฐมา (Nom.)
(m.)
เอโส, โส เอเต, เต
(n.)
เอตํ เอตานิ
(f).
เอตา เอตา
2.ทุติยา (Acc.)
(m.)
เอตํ, เอนํ เอเต
(n.)
เอตํ เอตานิ
(f).
เอตํ, เอนํ เอตา
3.ตติยา (Inst.)
(m.)
เอเตน เอเตหิ
(n.)
เอเตน เอเตหิ
(f).
เอตาย เอตาหิ
4.จตุตถี (Dat.)
(m.)
เอตสฺส เอเตสํ, เอเตสานํ
(n.)
เอตสฺส เอเตสํ, เอเตสานํ
(f).
เอตสฺสา, เอติสฺสา, เอติสฺสาย เอตาสํ, เอตาสานํ
5.ปัญจมี (Abla.)
(m.)
เอตสฺมา, เอตมฺหา เอเตหิ
(n.)
เอตสฺมา, เอตมฺหา เอเตหิ
(f).
เอตาย เอตาหิ
6.ฉัฏฐี (Gen.)
(m.)
เอตสฺส เอเตสํ, เอเตสานํ
(n.)
เอตสฺส เอเตสํ, เอเตสานํ
(f).
เอตสฺสา, เอติสฺสา, เอติสฺสาย เอตาสํ, เอตาสานํ
7.สัตตมี (Loc.)
(m.)
เอตสฺมิํ, เอตมฺหิ เอเตสุ
(n.)
เอตสฺมิํ, เอตมฺหิ เอเตสุ
(f).
เอตสฺสํ, เอติสฺสํ เอตาสุ


ตารางวิภัตติสำหรับ อมุ ศัพท์ (โน้น)

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
  (Sg.) (Pl.)
1.ปฐมา (Nom.)
(m.)
อมุ อมู
(n.)
อทุ ํ อมูนิ
(f).
อมุ อมู
2.ทุติยา (Acc.)
(m.)
อมุ ํ อมู
(n.)
อทุ ํ อมูนิ
(f).
อมุ ํ อมู
3.ตติยา (Inst.)
(m.)
อมุนา อมูหิ
(n.)
อมุนา อมูหิ
(f).
อมุยา อมูหิ
4.จตุตถี (Dat.)
(m.)
อมุสฺส, อมุโน อมูสํ, อมูสานํ
(n.)
อมุสฺส, อมุโน อมูสํ, อมูสานํ
(f).
อมุสฺสา อมูสํ, อมูสานํ
5.ปัญจมี (Abla.)
(m.)
อมุสฺมา, อมุมฺหา อมูหิ
(n.)
อมุสฺมา, อมุมฺหา อมูหิ
(f).
อมุยา อมูหิ
6.ฉัฏฐี (Gen.)
(m.)
อมุสฺส, อมุโน อมูสํ, อมูสานํ
(n.)
อมุสฺส, อมุโน อมูสํ, อมูสานํ
(f).
อมุสฺสา อมูสํ, อมูสานํ
7.สัตตมี (Loc.)
(m.)
อมุสฺมิํ, อมุมฺหิ อมูสุ
(n.)
อมุสฺมิํ, อมุมฺหิ อมูสุ
(f).
อมุสฺสํ อมูสุ


อนิยมวิเสสนสัพพนาม (คุณนาม) (Undemonstrative Pronouns)

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ย ศัพท์ (ใด) (Relative Pronouns)

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

คือกลุ่มสรรพนามที่กล่าวอ้างนามที่ไม่แน่ชัดว่าเป็นตัวใด

ศัพท์ต่อไปนี้ มีวิธีแจกวิภัตติเหมือนกันทั้งหมดได้แก่ ย (ใด), อญฺญ (อื่น), ปร (อื่น), เอก (หนึ่ง), อุภย (ทั้งสอง), สพฺพ (ทั้งปวง) ฯลฯ

  (Sg.) (Pl.)
1.ปฐมา (Nom.)
(m.)
โย เย
(n.)
ยํ ยานิ
(f).
ยา ยา
2.ทุติยา (Acc.)
(m.)
ยํ เย
(n.)
ยํ ยานิ
(f).
ยํ ยา
3.ตติยา (Inst.)
(m.)
เยน เยหิ
(n.)
เยน เยหิ
(f).
ยาย ยาหิ
4.จตุตถี (Dat.)
(m.)
ยสฺส เยสํ, เยสานํ
(n.)
ยสฺส เยสํ, เยสานํ
(f).
ยสฺสา ยาสํ, ยาสานํ
5.ปัญจมี (Abla.)
(m.)
ยสฺมา, ยมฺหา เยหิ
(n.)
ยสฺมา, ยมฺหา เยหิ
(f).
ยาย ยาหิ
6.ฉัฏฐี (Gen.)
(m.)
ยสฺส เยสํ, เยสานํ
(n.)
ยสฺส เยสํ, เยสานํ
(f).
ยสฺสา ยาสํ, ยาสานํ
7.สัตตมี (Loc.)
(m.)
ยสฺมิํ, ยมฺหิ เยสุ
(n.)
ยสฺมิํ, ยมฺหิ เยสุ
(f).
ยสฺสํ ยาสุ

นอกจากนี้แล้ว ในภาษาบาลีหากนำ ย กับ ต ศัพท์มาใช้คู่กัน จะได้ความหมายว่า "อันใด" กับ "อันนั้น" เช่น

โย ธมฺมมนุสาสติ โส อมตนฺทโท โหติ (ผู้ใดสอนธรรม ผู้นั้นชื่อว่าให้อมตะ)

 

กิํ ศัพท์ (อะไร) (Interrogative Pronouns)

[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

คือสรรพนามที่ใช้ในประโยคคำถาม

  (Sg.) (Pl.)
1.ปฐมา (Nom.)
(m.)
โก เก
(n.)
กึ กานิ
(f).
กา กา
2.ทุติยา (Acc.)
(m.)
กํ เก
(n.)
กึ กานิ
(f).
กํ กา
3.ตติยา (Inst.)
(m.)
เกน เกหิ
(n.)
เกน เกหิ
(f).
กาย กาหิ
4.จตุตถี (Dat.)
(m.)
กสฺส กานํ
(n.)
กสฺส กานํ
(f).
กาย กานํ
5.ปัญจมี (Abla.)
(m.)
กสฺมา, กมฺหา เกหิ
(n.)
กสฺมา, กมฺหา เกหิ
(f).
กาย กาหิ
6.ฉัฏฐี (Gen.)
(m.)
กสฺส กานํ
(n.)
กสฺส กานํ
(f).
กาย กานํ
7.สัตตมี (Loc.)
(m.)
กสฺมิํ, กมฺหิ เกสุ
(n.)
กสฺมิํ, กมฺหิ เกสุ
(f).
กายํ กาสุ

แต่ กิํ ศัพท์นี้ เมื่อนำเอา -จิ ปัจจัย มาต่อท้ายเข้าไปแล้ว จะได้ความหมายว่า "อันใดๆ" เช่น

โก + จิ =โกจิ (ชายใดๆ, ใครๆ)   กิํ + จิ = กิญฺจิ (สิ่งใดๆ)

หรือเมื่อนำ ย ศัพท์ มาใช้ประกอบกับ กิํ+-จิ ปัจจัย ด้วย ก็จะได้ความหมายว่า "อันใดอันหนึ่ง" เช่น

โย โกจิ (คนใดคนหนึ่ง)   ยํ กิญฺจิ (สิ่งใดสิ่งหนึ่ง)

นอกจากนี้แล้ว การนำคำว่า กิํ เปล่าๆ มาไว้ข้างหน้าประโยคแล้วใช้เป็นนิบาต จะทำให้กลายเป็นประโยคคำถามประเภทตามให้ตอบ ใช่/ไม่ใช่ หรือถามสาเหตุก็ได้

  1. การสะกดและคำอ่าน
  2. นามนาม (Nouns)
  3. คุณนาม (Adjectives)
  4. สัพนาม (Pronouns)
  5. อาขยาตหรือคำกริยา (Verbs)
  6. อัพยยศัพท์หรือศัพท์ที่ไม่ต้องผัน (Indeclinables)
  7. การสร้างคำ
  8. วากยสัมพันธ์ (Syntax)
  9. คำศัพท์ (Vocabulary)