ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เบลนเดอร์ ทรีดี: จากมือใหม่สู่มือโปร/sub object"

จาก วิกิตำรา
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzero (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: เปลี่ยนจาก หมวดหมู่:Blender 3D ไปยัง หมวดหมู่:เบลนเดอร์
Pitpisit (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัดที่ 13: บรรทัดที่ 13:


องค์ประกอบหลักๆในโมเดล3มิตินั้นก็จะมีดังที่ได้กล่าวมา ซึ่งองค์ประกอบเหล่านี้เมื่อนำมาประกอบกันให้เป็นรูปเป็นร่างก็จะได้รูปทรงของโมเดลตามที่ต้องการ และการกระทำหรือแก้ไของค์ประกอบต่างๆเหล่านี้ก็คือการแก้ไขรูปทรงของวัตถุนั่นเอง
องค์ประกอบหลักๆในโมเดล3มิตินั้นก็จะมีดังที่ได้กล่าวมา ซึ่งองค์ประกอบเหล่านี้เมื่อนำมาประกอบกันให้เป็นรูปเป็นร่างก็จะได้รูปทรงของโมเดลตามที่ต้องการ และการกระทำหรือแก้ไของค์ประกอบต่างๆเหล่านี้ก็คือการแก้ไขรูปทรงของวัตถุนั่นเอง

== สารบัญ ==

=== อธิบาย ===
* [[เบลนเดอร์/Blender Interface|อินเทอร์เฟสของ Blender]]
* [[เบลนเดอร์/Button window costomization|ปรับแต่ง Button window]]
* [[เบลนเดอร์/Viewing in 3d view|ปรับเปลี่ยนมุมมองใน 3d view]]
* [[เบลนเดอร์/understand 3d view|ทำความรู้จัก 3dView]]
* [[เบลนเดอร์/object type|ออพเจคแบบต่างๆ]]
* [[เบลนเดอร์/select object|การเลือกออพเจค]]
* [[เบลนเดอร์/basic operator|การจัดการออพเจคขั้นพื้นฐาน]]
* [[เบลนเดอร์/View Properties and Background|View Properties และ Background]]
* [[เบลนเดอร์/3D Transform Widget|3D Transform Widget]]
* [[เบลนเดอร์/sub object|องค์ประกอบ ของออพเจค3มิติ]]

=== Step by step ===
* [[เบลนเดอร์/model hand|สร้างโมเดลรูปมือ]]
* [[เบลนเดอร์/model wine glass|สร้างโมเดลรูปแก้วน้ำ]]
* [[เบลนเดอร์/model fork|สร้างโมเดลรูปส้อม]]
* [[เบลนเดอร์/object transparent|ออพเจคโปร่งใส]]

=== Workshop ===
* [[เบลนเดอร์/MB Pawn|ตัวหมากรุก]]

=== Python Script ===
* [[เบลนเดอร์/import file .3ds|Import file .3ds]]

=== คำสั่ง ===
* [[เบลนเดอร์/Subsurf|Subsurf]]


[[หมวดหมู่:เบลนเดอร์]]
[[หมวดหมู่:เบลนเดอร์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:10, 4 มิถุนายน 2559

ส่วนประกอบต่างๆของออพเจค 3มิติ

ในการทำงานกับโปรแกรมสร้างโมเดล 3มิตินั้น คุณจะต้องทำความเข้าใจกับส่วนประกอบต่างๆ ที่ประกอบกันขึ้นมาจนเกิดเป็นวัตถุให้ได้เสียก่อน เพื่อให้คุณเข้าใจและสามารถจัดการกับโมเดล3มิติได้ง่ายยิ่งขึ้น

ส่วนประกอบต่างๆ

Pivot point

Pivot point คือจุดอ้างอิงของวัตถุ3มิติ ในแต่ละชิ้น หมายถึง วัตถุ3มิติ1ชิ้นจะมี Pivot อยู่1จุด Pivot จะเป็นจุดอ้างอิงของวัตถุนั้นๆในการกระทำทุกอย่างกับวัตถุที่จะต้องอ้างอิงถึงจุด Pivot หรือแม้แต่การบอกตำแหน่งของวัตถุ ก็จะบอกอ้างอิงจากจุด Pivot เช่นการ Move(ใช้เป็นจุดอ้างอิงในการเคลื่อนย้าย), Rotate(ใช้ Pivot เป็นจุดหมุน), Scale(ใช้ Pivot เป็นจุดศูนย์กลางในการย่อ/ขยาย) ยกเว้นการแก้ไขในรายละเอียด (แก้ไขใน Edit mode) ของวัตถุซึ่งจะไม่ได้อ้างอิงกับจุด Pivot

Vertex

Vertex คือจุดที่เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดในวัตถุแต่ละชิ้น เป็นตัวที่ใช้กำหนดจุดเริ่มต้นของเส้นและส่วนปลายของเส้น Vertex จะเป็นจุดซึ่งมองไม่เห็นเมื่อเรนเดอร์ออกมา เพราะจุด Vertex นั้นไม่ได้มีมิติความกว้างหรือความหนาแต่อย่างใด เป็นเพียงจุดๆหนึ่งเท่านั้น

Edge

Edge คือเส้นซึ่งประกอบขึ้นมาจากจุด Vertex 2จุด ประกอบขึ้นมาเป็นเส้นหนึ่งเส้น Edge นั้นจะคล้ายกับ Vertex ตรงที่ไม่มีมิติความหนา แต่ว่ามีระยะทางและทิศทาง

Face

Face คือส่วนหนึ่งของวัตถุที่มีมิติความกว้างความยาวแต่ไม่มีความหนา Face ประกอบขึ้นมาจาก Edge ไม่น้อยกว่า3ชิ้น ซึ่งการนำเส้น Edge 3เส้นมาต่อกันนั้นหมายความว่าจะทำให้เกิดเป็น Face ในรูปสามเหลี่ยม ถ้านำเส้น 4เส้นมาเรียงกัน ก็จะได้ออกมาเป็น Face สี่เหลี่ยม

องค์ประกอบหลักๆในโมเดล3มิตินั้นก็จะมีดังที่ได้กล่าวมา ซึ่งองค์ประกอบเหล่านี้เมื่อนำมาประกอบกันให้เป็นรูปเป็นร่างก็จะได้รูปทรงของโมเดลตามที่ต้องการ และการกระทำหรือแก้ไของค์ประกอบต่างๆเหล่านี้ก็คือการแก้ไขรูปทรงของวัตถุนั่นเอง

สารบัญ

อธิบาย

Step by step

Workshop

Python Script

คำสั่ง