วิกิตำรา:ชั้นหนังสือ/คอมพิวเตอร์

จาก วิกิตำรา
ระดับการพัฒนาวิกิตำรา
เนื้อหาน้อย: กำลังพัฒนาเนื้อหา: เนื้อหาใกล้สมบูรณ์: เนื้อหาพัฒนาแล้ว: เนื้อหาครอบคลุม:

ขอต้อนรับสู่ วิกิตำรา:ชั้นหนังสือ/วิทยาการคอมพิวเตอร์. ในชั้นหนังสือนี้, คุณจะได้พบหนังสือ ที่ไม่เป็นวิชาการมากนัก, เช่น แนะนำโปรแกรม, แนะนำระบบปฏิบัติการ (รวมถึง Linux). กรุณาเข้าชม วิกิตำรา:ชั้นหนังสือ/วิทยาการคอมพิวเตอร์ เพื่อดูหนังสือคอมพิวเตอร์ขั้นสูงกว่านี้.

แนะนำโปรแกรม[แก้ไขต้นฉบับ]

วิกิตำราที่มีอยู่:

แนะนำระบบปฏิบัติการ[แก้ไขต้นฉบับ]

วิกิตำราที่มีอยู่:

Mac[แก้ไขต้นฉบับ]

วิกิตำราที่มีอยู่:

Windows[แก้ไขต้นฉบับ]

วิกิตำราที่มีอยู่:

Dos[แก้ไขต้นฉบับ]

วิกิตำราที่มีอยู่:

ระบบ Web Based[แก้ไขต้นฉบับ]

วิกิตำราที่มีอยู่:

   ระบบ Web Based เป็นระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ที่ต้องอาศัยการแสดงผลด้วยโปรแกรมค้นดูเว็บ (Web Browser) เช่นโปรแกรม Internet Explorer, Opera หรือ Firefox เป็นต้น ทำให้การทำงานของระบบต้องประกอบด้วย

  1. Operating Sysytem โปรแกรมระบบปฏิบัติการ เช่น MS Windows, Linux เป็นต้น ทำหน้าที่ควบคุมระบบคอมพิวเตอร์และการทำงานร่วมกับระบบเครือข่าย
  2. Web Browser ทำหน้าที่ติดต่อกับผู้ใช้งาน รับคำร้องขอคำสืบค้น เพื่อส่งคำขอไปยังเป้าหมายที่ระบุอีกที รวมทั้งรับผลจากการค้นคืนมาแสดงผลให้ผู้ใช้อีกทีหนึ่ง
  3. Network System ไม่ว่าจะเป็นระบบ Intranet หรือ Internet เป็นระบบที่จัดการในการรับส่งข้อมูลโดยมีเกณฑ์วิธี (Protocol) เป็นข้อตกลงในการรับส่งรู้แบบต่างๆ ร่วมกัน เช่นรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ใช้ POP3 หรือ SMTP, รับส่งข้อมูลผ่านเว็บใช้ HTTP หรือ รับส่งข้อมูลเป็นไฟล์ใช้ FTP เป็นต้น
  4. Web Server เช่นโปรแกรม Internet Information Services (IIS) หรือ Apache เป็นต้น ทำหน้าที่ประมวลการร้องขอของผู้ใช้งาน และดำเนินงานตามโปรแกรมเพื่อให้ได้ข้อมูลตามคำร้องขอของผู้ใช้งานนั้นๆ โดยบางครั้งก็ต้องติดต่อกับฐานข้อมูลด้วย
  5. Database โปรแกรมที่ช่วยจัดการฐานข้อมูลได้แก่ MS Access, MS SQL Server, MySQL หรือ Oracle เป็นต้น ทำหน้าที่จัดการข้อมูลให้เป็นระบบ สะดวกในการเข้าถึงข้อมูล
  6. Language Program เป็นโปรแกรมภาษาที่สร้างขึ้นมาสำหรับการเขียนโปรแกรมที่ทำงานบนเว็บ ได้แก่ โปรแกรมภาษา Perl, ASP, PHP,Python หรือ Java เป็นต้น ส่วนประกอบส่วนนี้จำเป็นต้องมีตัวแปลภาษาที่เขียนขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการแปลภาษาแบบ Interpreter ที่แปลแล้วทำงานบรรทัดต่อบรรทัด

   ส่วนประกอบของระบบเหล่านี้จะทำงานร่วมกันผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำให้การจัดการระบบสารสนเทศ มีขอบเขตไม่จำกัดเวลา สถานที่ และอุปกรณ์ในการเข้าถึงสารสนเทศ จึงในรับความนิยมและพัฒนาระบบตามๆ เสริมประสิทธิภาพเพื่อให้สามารถตอบสนองข้อมูลในรูปแบบต่างๆ มากขึ้น

ระบบจัดการเนื้อหาบนเวบไซต์ (Content Management System : CMS)[แก้ไขต้นฉบับ]

วิกิตำราที่มีอยู่:

ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Languages)[แก้ไขต้นฉบับ]

วิกิตำราที่มีอยู่:

เบ็ตเตล็ด[แก้ไขต้นฉบับ]

วิกิตำราที่มีอยู่: