ข้ามไปเนื้อหา

วิกิตำรา:ชั้นหนังสือ/รัฐศาสตร์

จาก วิกิตำรา


รัฐศาสตร์ (อังกฤษ: political science) เป็นสาขาวิชาที่เกิดขึ้นในราวศตวรรษที่ 19 จัดเป็นวิชาหนึ่งในสายสังคมศาสตร์ (Social Science) โดยแบ่งการศึกษาออกเป็นสาขาต่างๆ เช่น ปรัชญาการเมือง (political philosophy) ทฤษฎีการเมือง อุดมการณ์ทางการเมือง การบริหารรัฐกิจ หรือการบริหารจัดการสาธารณะ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) เป็นต้น แต่โดยทั่วไปแล้วรัฐศาสตร์จะประกอบไปด้วย 3 สาขาหลักเป็นอย่างน้อย ได้แก่

1. สาขาการปกครอง (government)
2. สาขาบริหารรัฐกิจ หรือรัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration)
3. สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (international relation)

รายวิชาพื้นฐานทางรัฐศาสตร์

[แก้ไขต้นฉบับ]

ผู้เรียนจำเป็นต้องศึกษารายวิชาต่อไปนี้เพื่อให้เกิดความเข้าใจต่อการศึกษาทางด้านรัฐศาสตร์ซึ่งจะประกอบไปด้วยเนื้อหาสำคัญซึ่งเป็นพื้นฐานหรือความรู้เบื้องต้นในสาขาต่าง ๆในรัฐศาสตร์ ดังนี้

1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์ (Introduction to Political Science)
2. การเมืองการปกครองไทย (Thai Political and Government)
3. ปรัชญาการเมืองเบื้องต้น (Introduction to Political Philosophy)
4. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเบื้องต้น (Introduction to International Relations)
5. การบริหารรัฐกิจเบื้องต้น (Introduction to public administration)

มหาวิทยาลัยที่เปิดสอน

[แก้ไขต้นฉบับ]

มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในหลักสูตรรัฐศาสตร์ในประเทศไทย

เนื้อหาสาขาการปกครอง

[แก้ไขต้นฉบับ]

เนื้อหาหลัก

[แก้ไขต้นฉบับ]

ในการศึกษาสาขาการปกครองผู้เรียนจำเป็นจะต้องศึกษาเกี่ยวความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองการปกครองก่อน เพื่อจะทำให้ผู้เรียนนั้นเข้าใจถึงบริบทเบื้องลึกทางการเมืองต่อไป

1. การปกครองเปรียบเทียบเบื้องต้น (Introduction to Comparative Government)
2. ทฤษฎีจริยธรรมทางการเมืองเบื้องต้น (Introduction to Political Etics)
3. หลักธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง (Constitutional Principal and Political Institutional)
4. พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ (Political Party and Interest Group)
5. กฎหมายปกครองและธรรมาภิบาลในภาครัฐ (Administrative Law and Governance)
6. การปกครองส่วนท้องถิ่น (Local Administration)
7. การปกครองส่วนภูมิภาค (Regional Administration)

เนื้อหาสำหรับสาขาบริหารรัฐกิจ

[แก้ไขต้นฉบับ]

เนื้อหาหลัก

[แก้ไขต้นฉบับ]

การบริหารรัฐกิจเป็นการศึกษาแบบสหวิทยาการโดยการศึกษาจะครอบคลุมเนื้อหาในสาขาอื่น ๆ อาทิ การจัดการ จิตวิทยา วิทยาศาสตร์ รวมถึงกฎหมายต่าง ๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับการบริหารงานสาธารณะ โดยมีเนื้อหาหลักดังนี้

1. องค์การและการจัดการ (Organization and Management)
2. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในภาครัฐ (Human Resource Management in Public Sector)
3. การวางแผนภาครัฐ (Public Planing)
4. นโยบายสาธารณะ (Public Policy)
5. การบริหารงานคลังและงบประมาณ (Fiscal and Budjet Management)
6. กฎหมายปกครองและธรรมาภิบาลในภาครัฐ (Administrative Law and Governance)

เนื้อหาสำหรับสาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

[แก้ไขต้นฉบับ]

เนื้อหาหลัก

[แก้ไขต้นฉบับ]

สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศผู้เรียนจะได้ศึกษาถึงความสัมพันธ์ทางการฑูตระหว่างประเทศ รวมถึงการศึกษาเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ดังนี้

1. การเมืองระหว่างประเทศ (International Politics)
2. เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ (International Political Ecomomics)
3. นโยบายต่างประเทศของไทย (Thai Foreign Policy)
4. องค์กรระหว่างประเทศ (International Organization)
5. ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations Theory)
6. ประวัติศาสตร์ระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (History on International Relations System)
7. การทูต (Diplomacy)