ข้ามไปเนื้อหา

ดาราศาสตร์ทั่วไป

จาก วิกิตำรา

ดาราศาสตร์ คือ การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ของท้องฟ้าในเอกภพที่มองเห็นได้ ตั้งแต่ระยะไม่กี่เมตรจนถึงระดับใหญ่กว่านั้น รวมทั้งฟิสิกส์พื้นฐานที่ควบคุมท้องฟ้าเหล่านั้นอยู่ พวกมันสร้างอะไร มีคุณสมบัติอย่างไร การกระจาย ความสัมพันธ์ ระยะทาง การเคลื่อนไหว การสร้าง อายุ และ การดับสูญ

พร้อมกับกระบวนการของเทคโนโลยี ที่ถูกปรับปรุงอย่างมากเพื่อความเข้าใจของเราต่อเอกภพ ดาราศาสตร์ เป็นหนึ่งในพื้นที่หนึ่งที่ทันสมัยที่สุดในการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ แต่ยังเป็นหนึ่งในวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดด้วย การศึกษาในระดับหนึ่งเกิดจากประสบการณ์ในอารยธรรมโบราณ

ตำราวิกินี้จะแนะนำผู้อ่านถึงม่านและกระบวนการที่เปิดเผยต่อมนุษยชาติ มันนำเสนอดาราศาสตร์ที่ไม่ใช่แค่สาขาความรู้ แต่ยังเป็นความพยายามของมนุษย์ในวิทยาศาสตร์ด้วย

  1. มุมมองสมัยใหม่ต่อจักรวาล
    1. ภาพขนาดใหญ่
    2. ประวัติย่อของเอกภพ
    3. สัญกรณ์วิทยาศาสตร์
    4. ระเบียบวิธีแบบวิทยาศาสตร์
    5. คนทำอะไรในดาราศาสตร์
    6. ความลึกลับที่ยังไขไม่ได้ในปัจจุบัน
  2. ดาราศาสตร์สังเกตการณ์
    1. ทรงกลมท้องฟ้า
    2. ระบบพิกัด
    3. ดิถีแห่งจันทร์
    4. อุปราคา
    5. การเคลื่อนไหวรายวัน
    6. การเคลื่อนไหวรายปี
  3. การเคลื่อนไหวและแรงโน้มถ่วง
    1. ยุคต้นของจุดกำเนิดดาราศาสตร์
    2. นักฟิสิกส์คนแรก (อาริสโตเติล)
    3. ความยากลำบากในแบบจำลองซึ่งมีโลกเป็นศูนย์กลาง
    4. แบบจำลองดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง (โคเปอร์นิคัส)
    5. แนวคิดใหม่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว (กาลิเลโอ)
    6. ลำดับวงโคจรในดาวเคราะห์
  4. ทฤษฎีแสง
    1. แสงคืออะไร?
    2. สเปกตรัม
    3. ฟิสิกส์ดาราศาสตร์พื้นฐาน
    4. การปลดปล่อยและดูดพลังงานของอะตอม
    5. การปลดปล่อยและดูดพลังงานของโมเลกุล
    6. การแผ่รังสีความร้อน
    7. ผลของดอพพ์เลอร์
  5. กล้องโทรทรรศน์
    1. ทัศนศาสตร์พื้นฐาน
    2. กล้องโทรทรรศน์ย่านตามองเห็น
    3. กล้องโทรทรรศน์ความยาวคลื่นอื่น
    4. กล้องโทรทรรศน์นิวตริโน
    5. กล้องโทรทรรศน์คลื่นแรงโน้มถ่วง
    6. การสังเกตอื่น
  6. วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์
    1. ดาวเคราะห์คล้ายโลก
    2. ดาวเคราะห์คล้ายดาวพฤหัสบดี
    3. บริวารของดาวเคราะห์
    4. ดาวหาง
    5. ดาวเคราะห์น้อย
    6. ดาวตกและอุกกาบาต
    7. เข็มขัดของไคเปอร์
    8. ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ
    9. การกำเนิดของระบบสุริยะ
  7. โลกในฐานะดาวเคราะห์
    1. โลกยุคแรก
    2. การกำเนิดดวงจันทร์
    3. ชีวภาค
    4. บรรยากาศ
    5. วัฏจักรน้ำ
    6. โลก
    7. ดวงจันทร์ของโลก
  8. การสำรวจอวกาศ
    1. ก้าวแรกสู่อวกาศ
    2. ภารกิจอะพอลโล
    3. ยานไพโอเนียร์และวอยเอเจอร์
    4. หอสังเกตการณ์ขนาดใหญ่
    5. ภารกิจสำคัญแห่งอนาคต
  9. ชีวดาราศาสตร์และสิงมีชีวิตนอกโลก
    1. สมการของเดรก
    2. อินทรีย์เคมีสำหรับดาราศาสตร์
    3. ชีวิตในระบบสุริยะ
    4. การค้นหาสิ่งมีชีวิตทรงปัญญานอกโลก
  10. ดวงอาทิตย์
    1. ปฏิกิริยาฟิวชันในดวงอาทิตย์
    2. แถบการพาและการแผ่รังสี
    3. ขอบข่ายของแสงหรือรังสี
    4. กิจกรรมสุริยะ
    5. สภาพอากาศในอวกาศ
    6. วิทยาคลื่นไหวสะเทือนดวงอาทิตย์
    7. วัฏจักรสุริยะ
  11. ดาวฤกษ์
    1. มวล
    2. ความสว่าง
    3. อุณหภูมิ
    4. ไดอะแกรมของแฮร์ทสชปรุง-รัสเซลล์
    5. กระจุกดาวในฐานะห้องทดลองจักรวาล
  12. วัฏจักรชีวิตดาวฤกษ์
    1. ดาวฤกษ์ก่อนเกิดและอนุบาลดาวฤกษ์
    2. ชีวิตของดาวฤกษ์มวลน้อย
    3. การตายของดาวฤกษ์มวลน้อย
    4. ชีวิตของดาวฤกษ์มวลมาก
    5. การตายของดาวฤกษ์มวลมาก
  13. หลุมดำ
    1. ชีวิตของหลุมดำ
    2. หลุมดำกำลังซ่อนอยู่
    3. ประวัติของหลุมดำ
    4. ทฤษฎีของภาวะเอกฐานเปลือย
    5. สเปคเฮตติฟิเคชัน (Spaghettification)
    6. หลุมดำ/รังสีฮอว์คิง
  14. ดาราจักร
    1. ทางช้างเผือก
    2. ชนิดของดาราจักร
    3. การก่อรูปแบบดาราจักร
    4. การวิวัฒนาการดาราจักร
    5. หลุมดำมวลสูงยิ่งยวด
    6. นิวเคลียสดาราจักรกัมมันต์ควอซาร์
  15. การระเบิดของรังสีแกมมาและรังสีคอสมิก
    1. เกริ่นนำและทำความเข้าใจประวัติของการระเบิดรังสีแกมมา
    2. การจัดอันดับแบบยาว-อ่อนและสั้น-แข็ง
    3. ความคล่องและดาราจักรนอกระบบธรรมชาติ
    4. แหล่งของการระเบิดรังสีแกมมา
    5. ความลึกลับที่อ้อยอิ่ง
  16. จักรวาลวิทยา
    1. บันไดระยะทาง
    2. บิ๊กแบงและการขยายของของจักรวาล
    3. สามนาทีแรก
    4. ฮิกส์โบซอน
    5. ความเร่งของเอกภพ
บรรณานุกรม