ผู้ใช้:วิกอิ พระหิรัญญ์/อ
หน้าตา
ประกอบอัตถะบรรยาย ด้วยคำว่า ได้แก่..
คำศัพท์ในอรรถกถา
|
ก ข ค ฆ ง จ ฉ ช ฌ ญ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ต ถ ท ธ น ป ผ พ ภ ม ย ร ล ว ส ห ฬ อ |
- อุทกํ มญฺเญ อาทิตฺตํ ได้แก่ เหมือนน้ำถูกต้มให้เดือด [1]
- อุทฺทิฏํ โหติ ได้แก่ เป็นของอันภัตตุทเทสก์ถวายให้ถึงแล้ว [2]
- อนสฺสาสโก ได้แก่ ผู้หายใจออกไม่ทัน [3]
- อุปาทานานิ ได้แก่ การยึดมั่นถือมั่น [4]
- อสิสูนํ ได้แก่ เขียงหั่นเนื้อ [5]
- อุทฺธูมายิกํ ได้แก่ อึ่ง [6]
- อภิกฺกนฺตตรํ ได้แก่ ดีกว่า [7]
- อุพฺภิท ได้แก่ เกลือที่เป็นหน่อขึ้นจากแผ่นดิน (พจ. ว่า นาเกลือ)[8]
- อุตฺตมคฺถานิ ได้แก่ เหตุให้ได้นางแก้วอันอุดม [9]
- อเนลมูโค ได้แก่ ไม่เป็นคนบ้าน้ำลาย [10]
- อปฺปมตฺโต ได้แก่ ผู้มีปกติกระทำติดต่อ [11]
- เอลุมูคา ได้แก่ พวกเรานี่แหละมีปากเต็มไปด้วยน้ำลาย [12]
- เอฬมูโค ได้แก่ เป็นใบ้น้ำลายไหล [13]
- เอฬมูคํ ได้แก่ มีน้ำลายไหลเลอะหน้า [14]
- อเนลมูโค ได้แก่ ผู้ไม่มีน้ำลายที่ปาก ได้แก่ ไม่เป็นคนบ้าและคนใบ้ [15]
- โอภาเสนฺตี ทิสา สพฺพา ได้แก่ โชติช่วงทั่วทั้ง ๑๐ ทิศ [16]
- เอกสฺมึ พฺรหฺมจริยสฺมึ ได้แก่ ในพระธรรมเทศนาอย่างหนึ่ง [17]
- อภิภูสมฺภวํ ได้แก่ พระอภิภูและพระสัมภวะ [18]
- อุชฺฌายนฺติ ได้แก่ย่อมดูหมิ่น คือ ย่อมคิดทางต่ำทราม [19]
- อฏฺํสุ ได้แก่ ยืนดุจรูปคนเฝ้าประตู [20]
- อปฺปฏิปุคฺคโล ได้แก่เว้นจากบุคคลผู้จะเปรียบเทียบ [21]
- อารพฺภถ ได้แก่ จงเริ่มความเพียร [22]
- อนภิรโต ได้แก่ ผู้ปราศจากความเพลินใจในศาสนา [23]
- อนสฺสาสโก ได้แก่ ผู้หายใจออกไม่ทัน [24]
- ↑ เล่ม ๓ หน้า ๔๘๖ บรรทัดที่ ๑๔
- ↑ เล่ม ๓ หน้า ๔๘๕ บรรทัดที่ ๑๕
- ↑ เล่ม ๒ หน้า ๔๓๙ บรรทัดที่ ๑๑
- ↑ เล่ม ๑๖ หน้า ๓๕๔ บรรทัดที่ ๑๐
- ↑ เล่ม ๑๘ หน้า ๓๓๘ บรรทัด ๑๖
- ↑ เล่ม ๑๘ หน้า ๓๓๘ บรรทัด ๑๕
- ↑ เล่ม ๓๔ หน้า ๒๖๗ บรรทัด ๖
- ↑ เล่ม ๗ หน้า ๑๖๗ บรรทัดที่ ๑
- ↑ เล่ม ๖๓ หน้า ๔๖๖ บรรทัดที่ ๑๘
- ↑ เล่ม ๔๖ หน้า ๒๓๑ บรรทัดที่ ๑๓
- ↑ เล่ม ๔๖ หน้า ๒๓๑ บรรทัดที่ ๑๒
- ↑ เล่ม ๖๓ หน้า ๔๖๖ บรรทัดที่ ๑๗
- ↑ เล่ม ๓๖ หน้า ๒๕๒ บรรทัดที่ ๑๕
- ↑ เล่ม ๖๓ หน้า ๓๗๓ บรรทัดที่ ๑๐
- ↑ เล่ม ๗๐ หน้า ๓๘๐ บรรทัดที่ ๑
- ↑ เล่ม ๔๙ หน้า ๑๔๒ บรรทัดที่ ๘
- ↑ เล่ม ๒๕ หน้า ๑๘๒ บรรทัด ๙
- ↑ เล่ม ๒๕ หน้า ๑๘๗ บรรทัด ๓
- ↑ เล่ม ๒๕ หน้า ๑๘๗ บรรทัด ๕
- ↑ เล่ม ๒๕ หน้า ๔๘๓ บรรทัด ๙
- ↑ เล่ม ๒๕ หน้า ๑๙๓ บรรทัด ๒๓
- ↑ เล่ม ๒๕ หน้า ๑๘๗ บรรทัด ๑๘
- ↑ เล่ม ๑ หน้า ๗๘๒ บรรทัดที่ ๕
- ↑ เล่ม ๒ หน้า ๔๓๙ บรรทัดที่ ๑๑